ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ชาตรี ประกิตนนทการ

เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2566
อนุสรณ์รัฐธรรมนูญจังหวัดจันทบุรี ฉายภาพให้เห็นถึงความตื่นตัวและความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรในท้องถิ่นกับระบอบใหม่ ตลอดจนวิเคราะห์รายละเอียดและคุณค่าทางสถาปัตยกรรมของอนุสาวรีย์แห่งนี้ซึ่งสะท้อนความทรงจำของการระบอบใหม่
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2565
“งานรื่นเริงของพลเมืองในระบอบใหม่” เป็นกิจกรรมสำคัญที่ถูกจัดขึ้นอย่างแพร่หลายในยุคสมัยรัฐบาลคณะราษฎรนับตั้งแต่หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์” “เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ” “ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2564
จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การจัดการร่างกายที่ปราศจากลมหายใจด้วยวิธีการเผาในเมรุ ก็ถูกนำมาใช้กับราษฎรด้วยเหตุผลทางสุขอนามัยและการสร้างคุณค่าใหม่
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2564
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หนึ่งในนโยบายหลักที่สำคัญของคณะราษฎรคือการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น ผ่านการวางแนวคิดที่เป็นโครงสร้างหลักของรัฐไทยสมัยใหม่
ศิลปะ-วัฒนธรรม
4
พฤศจิกายน
2563
การกลับมาอีกครั้งของละคอน "คือผู้อภิวัฒน์" ในช่วงเวลาที่ความสนใจต่อประวัติศาสตร์การเมือง ในช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กำลังอยู่ในกระแสของสังคม ท่ามกลางช่วงเวลาที่คุณค่าซึ่งผูกพันกับอุดมการณ์แบบอำนาจนิยมเริ่มถูกตั้งคำถามในทุกปริมณฑลของชีวิต
Subscribe to ชาตรี ประกิตนนทการ