ชิต สิงหเสนี
บทความ • วันนี้ในอดีต
7
ตุลาคม
2567
สังเขปประวัติชีวิตและงานของจรูญ สิงหเสนี หรือหลวงราชไมตรี โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับคณะราษฎร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2567
นอกจากวิธีการตรวจสอบพยานหลักฐานแวดล้อมที่มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อยแล้ว บันทึกคำให้การประกอบสำนวนคดีของโจทก์ พยาน และจำเลย ก็มีความเป็นไปได้และความสมเหตุสมผลไม่เพียงพอเอาผิดต่อจำเลยเช่นเดียวกัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2567
วิธีการสอบพยานหลักฐานแวดล้อมกรณีสวรรคต ร.8 มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อย แต่กลับสร้างบาดแผลให้กับประวัติศาสตร์ทางความรู้สึกและสร้างความสูญเสียต่อผู้บริสุทธิ์ บทความนี้จะช่วยแกะรอยและชี้แจงข้อบกพร่องดังกล่าว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2567
จดหมายฉบับนี้ลูกชายผู้แรกได้เขียนถึงคุณงามความดีและแบบอย่างที่ดีของพ่อ การใช้ชีวิตท่ามกลางการถูกประณามจากสังคม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2566
ความอยุติธรรมในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 คดีดังกล่าวมิเพียงแต่สั่นสะเทือนต่อความรู้สึกของปวงชนชาวไทยในช่วงเวลานั้น แต่ยังนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมืองไทย ช่วงทศวรรษ 2490
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2566
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้บรรยายความรู้สึกเมื่อครั้งเข้าร่วมการพิจารณาคดีสวรรคต ณ ศาลอาญา ในปี พ.ศ. 2491 โดยบอกเล่าสิ่งที่ตนสัมผัสได้จากทั้งสามจำเลย คือ ความสุขุม ความสงบ และความไม่หวั่นเกรงภัยใดๆ เพราะทั้งสามนั้นเชื่อมั่นในความยุติธรรมและความบริสุทธิ์ของตนเองอย่างแน่นหนัก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2564
ท่ามกลางกระแสข่าวความพยายามก่อการรัฐประหารที่ยังคงดำรงอยู่ตลอดเวลา แต่พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ยังคงมีความมั่นใจในเสถียรภาพในรัฐบาลของตนจนถึงขนาดกล่าวว่า “นอนรอปฏิวัติมานานแล้ว ไม่เห็นปฏิวัติเสียที”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
บทความ • บทสัมภาษณ์
Subscribe to ชิต สิงหเสนี
2
พฤษภาคม
2564
ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ในเวลาประมาณช่วงบ่ายๆ ดิฉันนั่งอยู่ที่วัดป่าจิตตวิเวก ประเทศอังกฤษ เพราะเดินทางไปกราบท่านเจ้าคุณปัญญาฯ เนื่องจากท่านเดินทางมาที่อังกฤษและมาพักที่วัด ระหว่างนั้นมีโทรศัพท์มาจากเมืองปารีส พระท่านก็ลุกขึ้นไปรับสาย และเดินกลับมาบอกว่า ท่านผู้หญิงพูนศุขโทรมาโดยอยากจะขอเชิญท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ไปที่งานพิธีศพอาจารย์ปรีดี เพราะอาจารย์ปรีดีนั้น ได้เสียชีวิตแล้ว
ดิฉันนั่งอยู่ด้วยตรงนั้น ท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ได้ตอบตกลงว่าไป