ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ทัศนัย มิตรภักดี

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ได้มีข้อเขียนแสดงความเป็นมาของการเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัฒน์สยามเมื่อคราว 24 มิถุนายน 2475 ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักฐานที่กล่าวแทนคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ธันวาคม
2563
'ชวลิต ตั้งวงษ์พิบูลย์' ตามรอยไปสืบดูถึงความเป็นไปในสถานที่นั้น พบว่า ผู้ก่อการมาดื่มกาแฟกันที่นี่: Café Select ไม่ใช่ Café de la Paix
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
พฤศจิกายน
2563
นายปรีดีเขียนขยายความไว้ด้วยว่า "ถ้าหนังสือเล่มนั้นยังอยู่ที่ทายาทท่านผู้นี้ ก็คงจะพบว่า หนังสือนั้นไม่มีปกหน้า เพราะข้าพเจ้าฉีกเผาไฟแล้วเพื่อความปลอดภัย"
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ตุลาคม
2563
ในวาระ 110 ปีแห่งการสวรรคตของรัชกาลที่ 5 ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ถอดบทเรียนการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัย จากยุคของรัชกาลที่ 5 มาจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก
Subscribe to ทัศนัย มิตรภักดี