นายกรัฐมนตรี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2566
ปัญหาการเกิดขึ้นของ "นายกฯ คนนอก" ด้วยกระบวนการที่เปิดประตูให้แก่บุคคลนอกระบอบเล็ดลอดเข้ามามีอำนาจโดยไม่ผ่านกลไกด้วยระบอบประชาธิปไตย ปัญหาดังกล่าวถูกปิดตายด้วยรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ฉบับ 2540 กระทั่งปัญหาดังกล่าวบังเกิดอีกครั้งภายหลังการแทรกแซงทางการเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2557 ในรัฐธรรมนูญสืบทอดอำนาจ ฉบับ 2560
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงผลสืบเนื่องจากการรัฐประหาร 2534 ต่อประเด็นที่มาของตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญไทย วิกฤติทางการเมืองในคราวนั้นถือเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าความยึดโยงของตำแหน่งดังกล่าวต่อประชาชน จนนำไปสู่การสะสางปัญหาที่ยืดเยื้อซึ่งกินเวลายาวนานนับตั้งแต่ยุค 2500
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
พฤศจิกายน
2563
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ได้ตั้งข้อสังเกตถึงที่มาของปัญหาไว้ 3 ประการ คือ (1) ปัญหาจากระบอบอํานาจนิยม (2) ปัญหาทางเศรษฐกิจ และ (3) กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
ตุลาคม
2563
"ที่กล่าวมานี้ เพียงแต่แสดงความหวังให้ท่านถึงฟิวเจอร์หรืออนาคตของเราว่าไม่มืดมน พอมองเห็นแสงสว่าง" -- ปรีดี พนมยงค์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
29
ตุลาคม
2563
ภายหลังที่ได้ตรากตรํารับใช้ชาติบ้านเมืองในภารกิจอันมีความสําคัญยิ่งมาตลอดสงคราม เป็นเวลาถึง 4 ปี จนกระทั่งสันติภาพ ตลอดจนเอกราชและอธิปไตยของประเทศไทยได้กลับคืนมา ท่านรัฐบุรุษอาวุโสฯ มีความชอบธรรมที่จะพักผ่อนทั้งกายและใจ โดย “รับปรึกษากิจราชการแผ่นดิน” ตามที่ระบุไว้ในพระบรมราชโองการฯ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2488
การณ์มิได้ไปเป็นเช่นนั้น ความจริงปรากฏว่า ในระหว่างปี พ.ศ.2489-2490 ท่านปรีดี พนมยงค์ กลับต้องรับภารกิจที่หนักหน่วง และต้องเผชิญกับปัญหาทางการเมืองอย่างที่ไม่เคยประสบมาก่อนในอดีต
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2563
เหตุใดหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) จึงไม่ได้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรนั้น อ่านต่อได้ในบทความของ 'อุดม เจริญรัตน์' เรื่องนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to นายกรัฐมนตรี
9
มิถุนายน
2563
เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ผมได้รับหนังสือของกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สำนักเลขาธิการ ค.ร.ม.) ซึ่งลงนามโดยเลขาธิการโดยคณะรัฐมนตรี (นายดิเรก ชัยนาม) ให้ผมโดยเสด็จพระราชดำเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่อานันทมหิดล ไปรับราชการในพระราชสำนัก ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสส์ ในฐานะผู้ถวายอักษรภาษาไทย กำหนดเดินทางในวันที่ 13 มกราคม 2481