บุศย์ ปัทมศริน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2566
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้บรรยายความรู้สึกเมื่อครั้งเข้าร่วมการพิจารณาคดีสวรรคต ณ ศาลอาญา ในปี พ.ศ. 2491 โดยบอกเล่าสิ่งที่ตนสัมผัสได้จากทั้งสามจำเลย คือ ความสุขุม ความสงบ และความไม่หวั่นเกรงภัยใดๆ เพราะทั้งสามนั้นเชื่อมั่นในความยุติธรรมและความบริสุทธิ์ของตนเองอย่างแน่นหนัก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2565
วันนี้ 17 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2565 ครบรอบ 67 ปี แห่งการประหาร 3 จำเลยคดีสวรรคตรัชกาลที่ ๘
นายเฉลียว ปทุมรส .. จำเลยที่ 1
นายชิต สิงหเสนี .. จำเลยที่ 2
นายบุศย์ ปัทมศริน .. จำเลยที่ 3
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2565
ครั้นแล้ววันพุธที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๘ สถานการณ์ในเรือนจำมหันตโทษก็เริ่มเคร่งเครียด ไม่มีใครรู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น นอกจาก ขุนนิยมบรรณสาร ผู้บัญชาการเรือนจำเท่านั้นที่กำความลับไว้ ทุกคนต่างพากันปฏิบัติไปตามคำสั่งโดยไม่รู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น
เมื่อ ๑๗.๐๐ น. ได้มีประกาศประชุมด่วน ห้ามมิให้พนักงานทุกคนออกไปจากเรือนจำอย่างเด็ดขาด
ผู้ต้องขังทั้งหมดถูกจัดให้เข้าเรือนขังหมดก่อนปกติ คือก่อน ๑๗.๐๐ น. มหันตโทษอันกว้างใหญ่และเต็มไปด้วยเสียงมาตลอดทั้งวัน พลันก็เงียบลงอย่างฉับพลัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2564
ท่ามกลางกระแสข่าวความพยายามก่อการรัฐประหารที่ยังคงดำรงอยู่ตลอดเวลา แต่พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ยังคงมีความมั่นใจในเสถียรภาพในรัฐบาลของตนจนถึงขนาดกล่าวว่า “นอนรอปฏิวัติมานานแล้ว ไม่เห็นปฏิวัติเสียที”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2564
17 กุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี และ นายบุศย์ ปัทมศริน 3 จำเลยผู้บริสุทธิ์ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต
บทความ • บทสัมภาษณ์
14
มกราคม
2564
บันทึกความทรงจำของ ม.ร.ว.สายสวัสดี ธิดา ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ที่มีต่อท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บุศย์ ปัทมศริน
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร