ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประจักษ์ ก้องกีรติ

แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
ความทรงจำดังกล่าวเป็นผลมาจากการจำกัดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในระบอบเผด็จการทหารซึ่งผูกขาดช่องทางการสื่อสารและปกครองประเทศด้วยการปิดกั้นเสรีภาพมาอย่างยาวนาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2564
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพียง 3 วัน คณะราษฎรก็นำ “พระราชบัญญัติธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยาม” ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เพื่อให้พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2564
ตัวอย่างรูปธรรม เช่น ในรัฐธรรมนูญ 2475 กำหนดให้ “พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปโดยกำเนิด หรือโดยแต่งตั้งก็ตาม ย่อมดำรงอยู่ในฐานะเหนือการเมือง” ด้วยเหตุดังกล่าวทำให้การใช้อำนาจใดๆ ขององค์พระมหากษัตริย์จะต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2564
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอคำโต้แย้งแรกๆ ต่อคำอธิบายข้างต้น ที่เกิดขึ้นหลังจากระบอบเผด็จการทหารล่มสลาย การผลิดอกออกผลของปัญญาญาณและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ก็ค่อยๆ เบ่งบานขึ้นมา
12
มิถุนายน
2563
เนื่องในวาระครบรอบ 88 ปี อภิวัฒน์สยาม 2475 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ขอเชิญทุกท่านเข้าร่วมงานเสวนาออนไลน์ ในหัวข้อ 88 ปี 2475: ความทรงจำของสามัญชน กำหนดการจัดเสวนาออนไลน์ ในวันพุธที่ 24 มิถุนายน 2563 ตั้งแต่เวลา 13.00-17.30 น. ถ่ายทอดสด (Live) ผ่านทาง Facebook Fanpage สถาบันปรีดี พนมยงค์ https://www.facebook.com/pridibanomyonginstitute
บทบาท-ผลงาน
24
มีนาคม
2563
ประจักษ์ ก้องกีรติ เรื่อง ผมเชื่อว่าผู้อ่านส่วนใหญ่คงเคยได้ยินคำกล่าวที่พูดกันติดหูว่า “ผู้ชนะคือผู้เขียนประวัติศาสตร์” แต่ในสังคมไทยของเรา เรื่องราวกลับไม่ได้ดำเนินไปเช่นนั้น เพราะสิ่งที่เรียกว่า “ประวัติศาสตร์” ซึ่งคือการบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับอดีตที่ผ่านพ้นไปแล้วให้คนรุ่นหลังได้จดจำนั้น ช่างเต็มไปด้วยความยอกย้อนและซ่อนเงื่อน ผู้ชนะในสมรภูมิทางการเมืองบ่อยครั้งกลับพ่ายแพ้ในสมรภูมิการเขียนประวัติศาสตร์
Subscribe to ประจักษ์ ก้องกีรติ