ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ผาสุก พงษ์ไพจิตร

แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
มิถุนายน
2565
การทำนาเป็นรากฐานสำคัญที่สุดของเศรษฐกิจสังคมสยาม ตลอดระยะเวลาของประวัติศาสตร์อันยาวนาน การปลูกข้าวเพื่อส่งออกและการค้าภายในเป็นกิจกรรมหลักทางเศรษฐกิจ โดยในช่วงต้นของ พ.ศ. 2400 สินค้าส่งออกทางการเกษตรมีสัดส่วนถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด สังคมเกษตรกรรมช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงต่อเนื่องยาวนานจนถึง พ.ศ. 2490 สังคมภาคเกษตรในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ถือเป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยชาวนาอิสระจำนวนมาก และชาวนาเหล่านี้ก็สามารถจับจองพื้นที่ในการเพาะปลูกได้ สังคมในลักษณะดังกล่าวสะท้อนถึงวัฒนธรรมแห่งการพึ่งตนเอง ให้คุณค่ากับความเสมอภาค และยึดถือประเพณีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2565
บนหน้าประวัติศาสตร์ความเหลื่อมล้ำของไทย เลี่ยงไม่ได้ที่ต้องพิจารณาการถือครองที่ดิน เพราะเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2564
สิ่งที่เราจะเห็นภาพก็คือขณะนี้มีขบวนการคนรุ่นใหม่กำลังต่อสู้กำลังตั้งคำถามและกำลังทวงคืนจิตวิญญาณของการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 89 ปีที่แล้ว
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2564
ปัญหาการแพร่ระบาดของ COVID-19 รวมทั้งปัญหาวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจนั้น ได้ทำให้ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในวันนี้วิทยากรทั้งหลายที่จะมาร่วมเสวนาก็จะได้ร่วมกันมองว่า “เราจะฝ่าวิกฤตนี้ไปได้อย่างไร”
25
มิถุนายน
2564
สรุปประเด็นสำคัญจาก PRIDI Talks #11 “89 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม: สวัสดิการและบทบาทของรัฐในการสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจแก่ประชาชน”
Subscribe to ผาสุก พงษ์ไพจิตร