ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

บทบาท-ผลงาน
21
กันยายน
2567
กำเนิดหลักการ นโยบาย และปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของนายปรีดี พนมยงค์ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเสนอหลักการ และแนวทางสันติภาพเชิงนโยบายผ่านเอกสารทางการ ข้อเขียน และประกาศสันติภาพ ขณะที่ปฏิบัติการสันติภาพผ่านขบวนการเสรีไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2567
ญี่ปุ่นละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และนายปรีดี พนมยงค์ได้ถูกผลักให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ กล่าวถึงบทบาทผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2484-2488 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 ที่ปรีดีมีพันธกิจกู้ชาติและรักษาเอกราชของประเทศไว้ได้ด้วยการก่อตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ
บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศได้เจรจาเรียกร้องเอกราชและดินแดนคืนจากจักรวรรดินิยม เป็นรัฐมนตรีคลังปฏิรูปภาษีอากร จัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่น ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และนายกฯ หลังรัฐประหารลี้ภัย เรียกร้องประชาธิปไตย เป็นรัฐบุรุษอาวุโสและนักประชาธิปไตยสำคัญของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
สิงหาคม
2565
เรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ผ่านการทำงานที่เต็มไปด้วยความยากลำบากและความท้าทายในทุกๆ สมรภูมิ
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนนำเสนอเรื่องราวการเคลื่อนไหวของภารกิจสำคัญในประวัติศาสตร์ คือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านหลักฐานร่วมสมัยทางประวัติศาสตร์ คือ บันทึกโมฆสงคราม อันเป็นเอกสารที่ช่วยขยายเพดานความรู้เกี่ยวกับบริบททางการเมืองของโลกและไทยท่ามกลางไฟสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ หรือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2481 เรื่อยมาจวบจนกระทั่งวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ภายหลังกองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกรุกเข้ามาในเมืองไทยประมาณหนึ่งสัปดาห์เศษ สภาผู้แทนราษฎรปรึกษาหารือกันพร้อมลงมติแต่งตั้ง นายปรีดี ให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ถือเป็นการแต่งตั้ง สืบเนื่องจาก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนเดิมถึงแก่อสัญกรรม
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2565
'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' เล่าถึงความเป็นมาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ “โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” หรือ ต.ม.ธ.ก. โดยความมุ่งหวังของท่านผู้ประศาสน์การเพื่อจะปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับระบอบรัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2564
นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มิได้ลงนามประกาศสงครามกับ ‘บริเตนใหญ่’ และสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งกลายมาเป็นเหตุหนึ่งในการประกาศความเป็นโมฆะ
Subscribe to ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์