ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
“ถ้าปราศจากจํากัด พลางกูร งานขององค์กรใต้ดินครั้งนี้อาจจะล้มเหลว หรือหากสําเร็จ ก็คงเป็นไปในรูปที่ผิดแผกกว่าที่ได้ปรากฏแก่ตาโลกภายหลัง”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2563
"จารุบุตร เรืองสุวรรณ" เล่าเรื่อง "นิทานเสรีไทย" กล่าวถึงเบื้องหลังการทำงานเสรีไทยของนายปรีดี พนมยงค์ จากตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การติดต่อกับเสรีไทยในต่างประเทศ การติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ไปจนถึงการเจรจาสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
สิงหาคม
2563
บทบาทของนายสงวน ตุลารักษ์ ในหน้าประวัติศาสตร์เสรีไทย มีความชัดเจนและโดดเด่น ซึ่งหากจะพิจารณาอย่างเป็นธรรมและถ่องแท้แล้ว จะเห็นได้ว่าเป็นรองกว่าบุคคลอื่น ๆ ในขบวนการเสรีไทยทั้งภายในและภายนอกประเทศเพียงไม่กี่คนเท่านั้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2563
เมื่อเอ่ยถึง "ทวี บุณยเกตุ" หลายคนอาจนึกถึง "นายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งสั้นที่สุด" หรือนายกขัตตาทัพที่รอ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช อัครราชทูตไทยที่สหรัฐอเมริกา กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2563
ม.จ.อัปภัศราภา เทวกุล ได้เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์ในช่วงนี้ไว้ได้อย่างน่าสนใจ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กรกฎาคม
2563
ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา หากจะถามหาสามัญชนที่เป็นอัจฉริยะและรัตนบุรุษ ผู้สร้างคุณูปการต่อชาติและศาสนา ทั้งในฝ่ายฆราวาสและบรรพชิตแล้ว นายปรีดี พนมยงค์และท่านพุทธทาสภิกขุ ย่อมอยู่ในฐานะอันโดดเด่น ควรแก่การยกย่อมอย่างแท้จริง ทั้งความรู้ ความสามารถ ความเสียสละ ความสะอาดบริสุทธิ์ ความซื่อสัตย์สุจริตและความเห็นการณ์ไกล ซึ่งประวัติศาสตร์ชาติไทยจักต้องจารึกความสำคัญของท่านทั้งสองไว้นานเท่านาน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เขียนบทความสั้น ๆ เล่าถึง 'คุณปู่' พระยาไชยวิชิตสิทธิสาตรา (นาค) ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ได้ลงชื่อในคำกราบบังคมทูล ร.ศ. 103
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)