ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาราชวังสัน

เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2566
เอกสารสำคัญและเรื่องราวที่มิเคยกล่าวถึงของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยชี้ให้เห็นถึงความขับเคี่ยวและขัดแย้งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา รวมไปถึงบรรยากาศและเรื่องราวของประชาชนจากหนังสือพิมพ์ประชาชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2566
เรื่องราวของ นายสงวน ตุลารักษ์ ในช่วงหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ในฐานะสมาชิกคณะราษฎรปีกซ้ายซึ่งมีแนวคิดสังคมนิยม ทว่ากลับต้องเผชิญกับวิบากกรรมทางการเมืองด้วยข้อกล่าวหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ เนื่องด้วยการเผยแพร่แนวคิดแบบสังคมนิยม
ชีวิต-ครอบครัว
12
เมษายน
2566
เรื่องราวการถูกเนรเทศไปยังแดนไกลของนายปรีดีและความเป็นไปทางการเมืองในขณะนั้น โดยกล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ชีวิตของมันสมองคณะราษฎรผู้นี้ต้องระหกระเหิน พร้อมทั้งบรรยากาศในสังคมสยามเมื่อคราวที่นายปรีดีจะต้องออกเดินทางนั้นมาถึง
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
ชวนอ่านกลวิธีที่นำไปสู่การรัฐประหารครั้งแรกของไทย โดย 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' โดยอาศัยช่องว่างในขณะที่ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ข้อเสนอโดย 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการทบทวนพิจารณาเชิงหลักการและฐานความคิดต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤศจิกายน
2564
จดหมายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึง นายปรีดี พนมยงค์, ใน, คำให้การต่อศาลอาชญากรสงคราม เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์
บทบาท-ผลงาน
14
กันยายน
2564
ในการที่จะพิสูจน์ว่ารัฐธรรมนูญเป็นประชาธิปไตยหรือไม่ หากในรายละเอียดว่าถือมติปวงชนเป็นใหญ่และให้สิทธิของมนุษยชนแก่ประชาชน รัฐธรรมนูญฉบับนั้นนับว่าเป็นประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ความหมาย การมีรัฐธรรมนูญกับการมีระบอบประชาธิปไตย และประเภทของรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรกับธรรมเนียมประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
Subscribe to พระยาราชวังสัน