ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475

เกร็ดประวัติศาสตร์
2
ธันวาคม
2563
แม้เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นผู้ร่างปฐมรัฐธรรมนูญนี้ แต่หลายคนคงยังไม่ทราบว่า หลวงประดิษฐ์ฯ ใช้ให้ นายชุบ ศาลยาชีวิน เป็นผู้พิมพ์ดีดร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ขึ้นมา
บทสัมภาษณ์
22
ตุลาคม
2563
ในวัย 80 ปี (พ.ศ. 2523) นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการ นสพ. ตะวันใหม่ ต่อคำถามที่ว่า “จุดอ่อนของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเมื่อปี 2475 คืออะไร
แนวคิด-ปรัชญา
21
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้สรุปหลักการร่างรัฐธรรมนูญไว้ 2 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
1
ตุลาคม
2563
ชวนหาคำตอบจากบทความของ วิเชียร เพ่งพิศ ที่สำรวจความคิดและทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ เรื่องระบบรัฐสภาของไทย และการได้มาซึ่งสมาชิกรัฐสภา
2
กรกฎาคม
2563
88 ปีนับจาก พ.ศ. 2475 จนถึง 2563 สามัญชนอยู่ตรงไหนในประชาธิปไตยไทย? คำถามข้างต้นหาคำตอบได้จากหลายแง่มุม ตั้งแต่กฎหมายสูงสุดของประเทศซึ่งแสดงที่ทางของผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครอง วิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่สะท้อนแนวคิดการอยู่ร่วมกัน ไปจนถึงสิ่งปลูกสร้าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)
บทบาท-ผลงาน
18
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต ได้ร่วมอภิปราย ความตอนหนึ่งดังนี้ ความจริงการเสวนาในวันนี้มีสองมิตินะครับที่กําหนดเป็นหัวข้อ มิติทางประวัติศาสตร์และมิติทางรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2745 พี่สุพจน์ [ด่านตระกูล] ได้พูดถึงมิติทางด้านประวัติศาสตร์ไปในรายละเอียด ผมจะขอให้ข้อสังเกตบางประการทางด้านมิติรัฐธรรมนูญฉบับแรก 
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์  นายสุพจน์ ด่านตระกูล ได้ร่วมอภิปรายด้วย ความตอนหนึ่งดังนี้
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2563
1. การยึดอำนาจการปกครองของคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นับว่าเป็นจุดสุดยอดของการสะสมความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ได้มีการประกาศพระราชกำหนดนิรโทษกรรม แก่คณะราษฎรและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475
Subscribe to พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475