ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พฤฒสภา

แนวคิด-ปรัชญา
30
พฤษภาคม
2566
ชวนพิจารณาวุฒิสภาไทยเปรียบเทียบกับความจำเป็นในบทบาทของสภาสูงในระดับสากลว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และบทบาทของวุฒิสภาเป็นอย่างไรในโลกปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2566
ผลการเลือกเมื่อ 14 พ.ค. 2566 แสดงถึงเจตจำนงและฉันทามติของสังคมไทยอย่างเด่นชัดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่า กลับต้องพบกับอุปสรรคทางการเมืองที่ถูกวางไว้ผ่านรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทเฉพาะกาล โดยกำหนดให้ สว. จำนวน 250 คน มีสิทธิร่วมเลือกนายกรัฐมนตรีผ่านกลไกการประชุมรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤษภาคม
2565
'วัลยา' ได้นำเสนอความเป็นมา​ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2489 ซึ่งเป็นอีกผลงานสำคัญของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในเรื่องการเสนอแนวคิดแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2475 และร่วมยกร่างรัฐธรรมนูญ 2489 เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญที่นำไปสู่แนวทางการสร้างหลักประชาธิปไตยสมบูรณ์ และระบอบประชาธิปไตยอันพรั่งพร้อมไปด้วยสามัคคีธรรม
บทบาท-ผลงาน
26
ตุลาคม
2564
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นจำนวนมากที่สุดในโลก หากนับตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันแล้ว เรามีรัฐธรรมนูญประกาศใช้ถึง 20 ฉบับ
บทสัมภาษณ์
2
กุมภาพันธ์
2564
ก่อนหน้าที่จะมีรัฐประหาร มีข่าวลือว่าจะเกิดปฏิวัติรัฐประหาร หนังสือพิมพ์ศรีกรุง ฉบับประจำวันที่ 28 พฤศจิกายน 2489 ลงข่าวว่ารัฐบาลสั่งเตรียมพร้อม เนื่องจากว่ามีข่าวเรื่องนายทหารชั้นประทวนคบคิดกันจะใช้กำลังล้มล้างรัฐบาลในเดือนกรกฎาคม 2490
บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
บทบาท-ผลงาน
4
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีความพยายามที่จะสถาปนาลัทธิรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ ให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น จึงเกิดเป็น "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489" อันเป็นฉบับที่ได้ชื่อว่า "เป็นฉบับนายปรีดี พนมยงค์" ซึ่งเป็นฉบับที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าฉบับใด ๆ ที่เคยมีมา
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
Subscribe to พฤฒสภา