ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ฟ่ามวันด่ง

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2566
เถ้าถ่านแห่งสงครามที่ยังไม่ทันมอดดับหลังจากความปราชัยของฝรั่งเศส และแล้วไฟสงครามก็ลุกโชนอีกครั้งในแผ่นดิน หลังจากสหรัฐอเมริกาเปิดฉากโจมตีเวียดนามเพื่อสกัดกั้นการเติบโตของลัทธิคอมมิวนิสต์ สงครามระลอกดังกล่าวอุบัติขึ้นในช่วงบั้นปลายชีวิตของโฮจิมินห์
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2566
โฮจิมินห์ เชิญ นายปรีดี พนมยงค์ พร้อมด้วยคณะติดตามเดินทางไปยังเวียดนาม การเยี่ยมเยือนในครั้งนั้นเป็นไปอย่างด้วยความชื่นมื่นระหว่างสองผู้อภิวัฒน์ ถึงแม้คราวนี้จะเป็นครั้งแรกที่บุรุษทั้งสองได้พบปะกัน ทว่ากลับอบอวลไปด้วยบทสนทนาที่ลื่นไหลและถูกคอ ส่งผลความสัมพันธ์อันดีของทั้งสองประเทศดำเนินมาจนกระทั่งปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤษภาคม
2566
สมรภูมิเดียนเบียนฟูยุทธภูมิสำคัญที่ชี้ชะตากรรมของชาติเวียดนาม กองกำลังเวียดมินห์เดินหมากอย่างมียุทธศาสตร์และกลยุทธ์ พร้อมกับได้รอบการสนับสนุนจากประเทศอื่นๆ รวมไปถึงชาวพื้นเมืองในเขตพื้นที่ดังกล่าว จนสามารถปักธงแห่งชัยชนะได้สำเร็จ กระทั่งนำไปสู่การประชุมเจนีวา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อหาข้อสรุปยุติความขัดแย้งและฟื้นคืนสันติภาพให้แก่ประเทศในอินโดจีน
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
เมษายน
2566
สถานการณ์ในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นช่วงเวลาที่อิทธิพลของฝ่ายอักษะเริ่มเพลี่ยงพล้ำต่อฝ่ายสัมพันธมิตร การทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมาและนางาซากิกรุยทางนำไปสู่การอภิวัฒน์และการประกาศเอกราชของเวียดนามในที่สุด
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มีนาคม
2566
เรื่องราวการเดินทางมุ่งหน้ากลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนของโฮจิมินห์ พร้อมทั้งสถานการณ์ที่ต้องเผชิญหน้าทั้งเจ้าอาณานิคมเดิมคือฝรั่งเศส และผู้รุกรานใหม่อย่างญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งนำไปสู่การจัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรเพื่อเอกราชของเวียดนาม หรือ "เวียดมินห์"
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กันยายน
2565
ป้อมค่ายฝ่ายฝรั่งเศสมีมาตรการป้องกันแน่นหนา ทุกจุดที่คาดว่าฝ่ายเวียดมินห์จะบุกเข้าโจมตีมีการวางทุ่นระเบิดนานาชนิด ผสมผสานกับรั้วลวดหนาม พร้อมด้วยรังปืนกลที่จัดวางไว้ตามแบบฉบับวิชาทหารที่เล่าเรียนมาจากโรงเรียนทหารอันลือชื่อของฝรั่งเศส เรียกได้ว่าเกือบไม่มีอะไรขาดตกบกพร่อง
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : นักอภิวัฒน์หนุ่ม
Subscribe to ฟ่ามวันด่ง