มารุต บุนนาค
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2567
มารุต บุนนาค ในขณะเป็นนักหนังสือพิมพ์ได้ใช้นามปากกาว่า ผู้สื่อข่าวน้อย เขียนถึงการต่อสู้ของขบวนการนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อ พ.ศ. 2494
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2566
การก่อกำเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะราษฎร ด้วยความมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนเพื่อเป็นกำลังสำคัญและเป็นสายธารที่รับใช้ประชาชน และช่วยให้ระบอบประชาธิปไตยดำเนินสืบต่อไป
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
กรกฎาคม
2566
ความเป็นเลิศของ ‘สุภา ศิริมานนท์’ ไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงในบทบาทของบรรณาธิการที่ผลักดันหนังสือที่ตนดูแลให้มีคุณภาพที่สุด หากแต่ รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดิ้นรนต่อสู้กับภัยความมืดบอดจากเผด็จการเพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพทางความคิดของทั้งคนวงการหนังสือพิมพ์และสังคมไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึงการต่อสู้ทางการเมืองด้วย "การอดอาหาร" (Hunger Strike) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทางอุดมการณ์เพื่อตอบสนองแก่ข้อเรียกร้องจนนำไปสู่การหาทางออกของสังคม ผ่านกรณีความเคลื่อนไหวทางการเมืองในต่างประเทศ และ ไทยโดย 'ฉลาด วรฉัตร' อดีตนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่สามารถสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมบนหน้าประวัติศาสตร์เหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
ข่าวสาร
29
กันยายน
2565
วานนี้ (28 กันยายน 2565) มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้เป็นเจ้าภาพร่วมในงานสวดพระอภิธรรม ศาสตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม ศาลา 8 ทั้งนี้ กำหนดการบำเพ็ญกุศลจะดำเนินถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2565
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กันยายน
2565
เรื่องราวความทรงจำของศิษย์ต.ม.ธ.ก. รุ่นที่ 5 ครั้งเมื่อใช้ชีวิตภายในรั้วโดม ณ โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ สถานศึกษาที่มิใช่เป็นเพียงพื้นที่แห่งการเรียนรู้ แต่ยังได้ขัดเกลาให้ทุกคนเห็นคุณค่าในสิทธิเสรีภาพ ความยุติธรรม ความถูกต้อง รักและเคารพในสิทธิของผู้อื่น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
กันยายน
2565
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 72 ปี[1] แต่บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในบางครั้งบางคราวเท่านั้น เพราะได้มีการปฏิวัติรัฐประหารกันมาตลอดเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ครั้ง ทั้งที่ทำสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง บางครั้งมีการปฏิวัติแล้ว ก็มีการบริหารราชการแผ่นดินกันในระบอบเผด็จการ ไม่มีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญใช้บังคับ ในบางยุคมีการบริหารราชการแผ่นดินแบบกึ่งเผด็จการและกึ่งประชาธิปไตย ทั้งนี้สุดแต่จิตสำนึกของผู้ยึดอำนาจแต่ละคน ในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมือ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to มารุต บุนนาค
10
กันยายน
2563
วาทะของปาล พนมยงค์ ในศาลอาญา ที่กล่าวกับท่านผู้หญิงพูนศุข ผู้เป็นมารดา เมื่อคราวที่เธอมาลาบุตรชาย ก่อนออกเดินทางไปประเทศจีน ในเดือนเมษายน 2496 ในระหว่างที่เขากำลังถูกดำเนินคดีในข้อหากบฏภายในและภายนอกราชอาณาจักร หรือที่รู้จักกันในนาม "กบฏสันติภาพ"