ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ 2540

แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2566
คำกล่าวประโยคหนึ่งที่ว่า “ประวัติศาสตร์สอนให้เรารู้ว่า เราไม่เรียนรู้อะไรจากประวัติศาสตร์เลย” จริงหรือไม่ คำอภิปรายต่อไปนี้เป็นการตอบคำถามดังกล่าว ที่แฝงไว้ด้วยความประสงค์ให้คนไทยพึงเรียนรู้สาระสำคัญของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
5
กรกฎาคม
2566
สื่อมวลชนสำคัญต่อการพัฒนาประชาธิปไตยตลอดมา แม้สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ก็เกิดขึ้นภายใต้การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความคิดเห็นด้านประชาธิปไตยในแง่มุมต่างๆ ที่หนังสือพิมพ์และสื่อสิ่งพิมพ์ของนักเขียนในสมัยก่อนหน้าและในขณะนั้น นำเสนอให้ชาวสยามได้รับทราบ
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2565
รังสิมันต์ โรม นายทุน ขุนศึก ศักดินา และประชาชน PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
  ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กุมภาพันธ์
2564
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ซึ่งเพิ่งจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ผ่านมานั้น นอกจากเป็นหลานลุงของนายปรีดี พนมยงค์ และเป็นอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญแล้ว ยังเป็นนักกฎหมายมหาชนคนสำคัญอีกคนหนึ่งของประเทศไทย
แนวคิด-ปรัชญา
7
ธันวาคม
2563
เศรษฐกิจกับรัฐธรรมนูญสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในลักษณะที่ทั้งเป็นการรับรองสิทธิของประชาชนภายในรัฐในทางเศรษฐกิจ และกำหนดกรอบทิศทางระบบเศรษฐกิจของรัฐจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร
Subscribe to รัฐธรรมนูญ 2540