ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ราชาธิปไตย

แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
แนวคิด-ปรัชญา
21
มิถุนายน
2566
ความคิด ความอ่าน และความเคลื่อนไหวของคนในระบอบเก่าก่อนระบอบประชาธิปไตยจะบรรลุผลสำเร็จ ความทุกข์ร้อนใจของประชาชนที่มีต่อปัญหาในทุกๆ มิติ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ตัวบทดังกล่าวชี้ให้เห็นพลวัตของการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง รวมไปถึงความคาดหวังของประชาชนในฐานะคนตัวเล็กๆ ในสังคมสยาม ณ ขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
5
มิถุนายน
2566
ทบทวนนิยามของ "รัฐบาล" โดยพิจารณาจากความหมายอย่างกว้างและแคบ รัฐบาลจะพึงมีกี่ชนิดนั้นอาจแยกพิจารณาตามความหมายของรัฐบาลนั้นเอง คือสุดแต่จะพิจารณาตามความหมายอย่างกว้าง, อย่างแคบ, หรือตามความหมายในทางเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2564
‘ก.ศ.ร. กุหลาบ’ และ ‘เทียนวรรณ’ เป็นบุคคลร่วมสมัยที่เกิดในรัชกาลที่ 3 และเติบโตในขณะที่อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกกำลังแพร่สะพัดอยู่ในสังคมระดับสูง ถึงแม้ว่าบุคคลทั้งสองจะมิได้มีตำแหน่งหน้าที่ในทางราชการก็ตาม
บทบาท-ผลงาน
19
ธันวาคม
2563
นายวิเชียร เพ่งพิศ ยกคำอธิบายของนายปรีดี พนมยงค์ ในหนังสือ 'คำอธิบายกฎหมายปกครอง' ซึ่งเขียนไว้ตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง มาอธิบายความเป็นไปในการร่างรัฐธรรมนูญที่นายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง
แนวคิด-ปรัชญา
7
กันยายน
2563
นายปรีดี พนมยงค์ เคยแปลคำว่า ULTRA-ROYALIST ไว้ว่า ผู้เกินกว่าราชา กล่าวคือ “ปากว่าเทอดทูลพระราชาธิบดี แต่ทำแสดงว่า นิยมราชาธิปไตยยิ่งกว่าองค์ราชาธิบดี” นายปรีดีเคยยกตัวอย่างกรณีที่เกิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศสว่า ระหว่าง ค.ศ. 1789-1875 ได้มี “ผู้เกินกว่าราชา” ทำการสงวนอำนาจศักดินาไว้มากกว่าที่องค์พระราชาธิบดีปรารถนา จนเป็นเหตุให้สถาบันพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บองต้องล้มไปใน ค.ศ. 1791  แม้พระราชวงศ์นั้นจะกลับมาครองราชบัลลังก์ได้อีกหลายครั้ง แต่สุดท้ายใน ค.ศ. 1875 ก็ปลาสนาการไปตราบจนปัจจุบันนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)
Subscribe to ราชาธิปไตย