ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 1

บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤษภาคม
2565
'ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน' ผู้ที่มี "คุณปู่ปรีดี" เป็นแบบอย่างในชีวิต ได้ย้อนวันวานบอกเล่าเรื่องราวในความทรงจำ เมื่อครั้งที่ใช้ชีวิตอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ใกล้ชิดกับคุณปู่ปรีดีและคุณย่าพูนศุข ณ บ้านเดี่ยวหลังอบอุ่น บ้านอองโตนี อีกทั้งความประทับใจที่ได้ใช้สถานที่แห่งนี้จัดงานแต่งงาน โดยเจ้าภาพในงานครั้งนั้น ก็คือ นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2565
บทความของศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน เสนอมุมมองคลองกระกับปัญหาความมั่นคง โดยเปรียบเทียบประวัติศาสตร์การขุดคลองสำคัญ 3 แห่งในมิติความมั่นคงระหว่างประเทศ คือ คลองสุเอซ คลองคีล และ คลองปานามา
แนวคิด-ปรัชญา
8
กุมภาพันธ์
2565
-๒- ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๘ ขณะที่ข้าพเจ้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กรมโยธาเทศบาลสมัยนั้น (ที่ได้ตั้งขึ้นโดยรวมกรมทางกับกรมนคราทรเข้าเป็นกรมเดียวกัน มีหน้าที่ในการทางทั่วราชอาณาจักร และการคมนาคมส่วนท้องถิ่น) ได้จัดร่างโครงการทางทั่วราชอาณาจักรตามคำสั่งของข้าพเจ้า เสร็จแล้ว ได้เสนอร่างโครงการนั้นมายังข้าพเจ้าเพื่อพิจารณา 
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2564
เนื้อหาของกลอนบทนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความเรียกร้องต้องการของยุคสมัย อันเป็นสากล ได้แก่ การต่อสู้กู้เอกราชของประชาชาติเมืองขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2564
ความแตกต่างระหว่างนายปรีดีกับหลวงพิบูลสงครามในด้านรูปแบบและรสนิยมการรับประทานอาหารเช้า ซึ่งพอจะสื่อนัยยะของแนวความคิดทางสังคมการเมืองได้
แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์: ผู้ริเริ่มก่อการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ๒๔๗๕ ตอนที่สอง โดย ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 1