ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลก ครั้งที่ 2

เกร็ดประวัติศาสตร์
19
สิงหาคม
2567
8 ธันวาคม 2484 เป็นวันที่ญี่ปุ่นบุกไทย ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเมืองภายในและการเมืองระหว่างประเทศของไทยนับตั้งแต่นั้น นายปรีดี พนมยงค์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เล่าเหตุการณ์ไว้อย่างละเอียด
17
สิงหาคม
2567
วันสันติภาพไทย ประจำปี 2567 ในภาคเช้ามีพิธีการรำลึกที่สวนประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์กับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยมีงานเสวนา 79 ปี วันสันติภาพ ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษไฟใต้ : เพื่อเส้นทางสู่สันติภาพ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และภาคบ่ายมี PRIDI x BMA : 79 ปี วันสันติภาพไทย ที่หอศิลป์กรุงเทพฯ
บทสัมภาษณ์
11
สิงหาคม
2567
อนุชา จินตกานนท์ บุตรชายของอนันต์ จินตกานนท์ เสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา เล่าถึงปากคำประวัติศาสตร์เกี่ยวกับเสรีไทยที่ตนเองได้รับรู้จากครอบครัวในวัยเยาว์จนถึงวัยหนุ่มซึ่งเป็นบันทึกความทรงจำล้ำค่า
บทบาท-ผลงาน
6
สิงหาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอว่าในบริบทสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งเเผด็จการฟาสซิสต์เรืองอำนาจในประเทศฝ่ายอักษะ พบว่าในไทยนั้นรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เดิมยึดหลัก 6 ประการและสันติภาพได้มีนายประยูร ภมรมนตรี และหลวงวิจิตรวาทการ หนุนเสริมให้จอมพล ป. เอาอย่างฮิตเลอร์
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ กล่าวถึงบทบาทผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2484-2488 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 ที่ปรีดีมีพันธกิจกู้ชาติและรักษาเอกราชของประเทศไว้ได้ด้วยการก่อตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ
บทบาท-ผลงาน
29
กรกฎาคม
2567
ข้อเขียนที่เน้นเรื่องแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ต่อสงครามโลก ครั้งที่ 2 จากงานเสวนาภาพยนตร์ เรื่องพระเจ้าช้างเผือก โดยสุรัยยา สุไลมาน และโดม สุขวงศ์ ที่จัดขึ้นในวาระ 70 ปี วันสันติภาพไทย เมื่อวันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
Subscribe to สงครามโลก ครั้งที่ 2