ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สถาบันปรีดี พนมยงค์

แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็นดุลยภาพแห่งอำนาจ พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
21
พฤษภาคม
2566
"...การมองท่านพุทธทาสกับอาจารย์ปรีดีจึงเป็นเส้นขนานที่คู่กันไป สวนโมกข์ตั้งเมื่อวันวิสาขบูชาปี 2475 ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองเพียง 1 เดือน หลังจากนั้นอีก 10 ปีต่อมาเมื่อทุกอย่างตั้งต้นได้ดีแล้ว คือปี 2485 ทั้งคู่จึงได้มาพบกันที่พระนคร หลังจากนั้นก็ได้ร่วมงานกันจนในท้ายที่สุดก็ต้องจากกันเมื่ออาจารย์ปรีดีถูกรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 หลังจากนั้นก็ไม่ได้ติดต่อกัน..." นริศ จรัสจรรยาวงศ์
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2566
ความท้าทายทางอุดมการณ์ทางการเมือง เพื่อสร้างดุลยภาพแห่งอำนาจให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในระบอบประชาธิปไตย ความพยายามในการสร้างระบอบประชาธิปไตยขึ้นผ่านการเลือกตั้ง จึงเป็นการเปลี่ยนผ่านภูมิทัศน์ทางการเมืองจากอำนาจในระบอบเก่า ไปสู่การเมืองใหม่ของประชาชน
13
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมรณรงค์เชิญชวนประชาชนย่านทองหล่อออกไปใช้สิทธิตามหน้าที่ของพลเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งครั้งที่ 27 ที่กำลังมาถึง ในวันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 โดยนำ “คู่มือเลือกตั้ง 66 เรียนรู้จากอดีต กาเพื่ออนาคต” เอกสารประกอบการเลือกตั้งซึ่งจัดทำโดยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) ภายในเล่มประกอบไปด้วย ข้อควรรู้ก่อนเข้าคูหา, กติการะบบการเลือกตั้ง, ข้อมูลพรรคการเมือง, จุดยืนพรรคการเมือง และหนทางสู่ประชาธิปไตยหลังการเลือกตั้ง เพื่อเ
12
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม ที่ผ่านมาในวันปรีดี พนมยงค์ ประจำปี พ.ศ. 2566 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง ขึ้น ณ ชั้น 9 อาคารอเนกประสงค์ 1 สถาบันไทยคดีศึกษา ห้องประชุมคึกฤทธิ์ ปราโมช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักวิชาการ สื่อมวลชน และองค์กรเคลื่อนไหวภาคประชาชน ได้แก่ รศ.ดร.ไชยันต์ รัชชกูล, รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์, รศ.ดร.พิภพ อุดร, ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล และ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ และ ผศ.อัครพงษ์ ค่ำคูณ เป็นผู้ดำเนินรายการ
12
พฤษภาคม
2566
ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เป็นวาระ 123 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศล และพิธีวางพานพุ่ม อนุสาวรีย์ปรีดี พนมยงค์ เพื่อรำลึกคุณูปการต่างๆ ของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้ริเริ่มวางรากฐานระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทย โดยในเวลา 08.00 น. ได้เริ่มพิธีทำบุญแด่นายปรีดี พนมยงค์  
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ตั้งข้อสังเกตเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤษภาคม
2566
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนอ่านปฏิทินชีวิตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 123 ปี ชาตกาล (11 พฤษภาคม 2443 - 2566)
บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2566
ยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์, ผุดผาดน้อย วรวุฒิ, ประสิทธิ์ ผ่องเภสัช และ จิ่งทง ลิขิตชลธาร ร่วมย้อนวันวานถึงนายปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 40 ปีแห่งการอสัญกรรม
แนวคิด-ปรัชญา
20
เมษายน
2566
ผู้อ่านหลายท่านอาจคุ้นเคย "แลไปข้างหน้า" ในฐานะอมตะวรรณกรรมของศรีบูรพา แต่หากสืบสาวย้อนกลับไปจะพบว่า "แลไปข้างหน้า" ถูกใช้เป็นชื่อบทความซึ่งวิพากษ์วิจารณ์การเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านในช่วงปี พ.ศ. 2492 เพื่อมองไปยังอนาคตข้างหน้าของสังคมไทยด้วยความหวัง
Subscribe to สถาบันปรีดี พนมยงค์