ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สถาบันปรีดี พนมยงค์

14
มีนาคม
2566
วันนี้ (14 มีนาคม 2566) ณ ห้องประชุม Millennium มหาวิทยาลัยสยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ และ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) เพื่อเป็นเครือข่ายพันธมิตรในการพัฒนา ส่งเสริมการค้นคว้า และงานวิจัย โดยมีภารกิจเพื่อการเผยแพร่และสื่อสารแนวคิดภายใต้ระบอบประชาธิปไตย ซึ่งอาจารย์เอกชัย ไชยนุวัติ รองคณบดี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม และ กรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ริเริ่มและผลักดันให้ความร่วมมือนี้เกิดขึ้นได้เป็นผลสำเร็จ
10
มีนาคม
2566
วันพฤหัสบดีที่ 9 มีนาคม 2566 ที่ผ่านมา นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ กรรมการผู้จัดการ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้มอบทุนสนับสนุนการดำเนินงานให้แก่ iLaw โดยมีนายยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ผู้จัดการ iLaw เป็นตัวแทนรับมอบ
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2566
คำอธิบายชุดความคิดและหัวใจทางการเมืองของ 'ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ด้วยหลัก "สันติประชาธรรม" ซึ่งเน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติวิธีเพื่อให้ถึงพร้อมด้วยประชาธรรมของผู้คน ผ่านการวิเคราะห์แตกย่อยอุดมคติทางการเมืองและความปรารถนาที่ ศ.ดร.ป๋วยต้องการให้บังเกิดขึ้นและไหลเวียนภายในสังคมไทย
4
กุมภาพันธ์
2566
ค่ำวานนี้ (3 กุมภาพันธ์ 2566) มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในงานสวดพระอภิธรรม คุณไกรศรี ตุลารักษ์ ณ ศาลา 9 (วรรณ-สุพิน) วัดธาตุทอง
19
มกราคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ "สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย" โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็น "ทำอย่างไรให้เกิดร่างรัฐธรรมนูญที่รับรองสิทธิเท่าเทียมทางเพศ" พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
ชีวิต-ครอบครัว
19
มกราคม
2566
ความเป็นมาของเพลง "คนดีมีค่า" และ "แม่จ๋า" รวมไปถึงบทบาททางสังคมและบทบาทในฐานะแม่ของ 'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' และ 'คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร' อีกทั้งความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างสองครอบครัวซึ่งเป็นความผูกพันที่เอื้ออาทรต่อกัน ตลอดจนบทเรียนที่ได้ทิ้งไว้ให้แก่คนรุ่นหลังผ่านฉากและชีวิตของสตรีทั้งสอง
17
มกราคม
2566
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงปัญหาสำคัญในสังคมได้แก่การตีตราและจำกัดบทบาทต่อสตรี โดยยกกรณีตัวอย่างผ่านเรื่องราวภายในครอบครัว บุคคลรอบข้าง รวมไปถึงบทบาทในฐานะคนรุ่นใหม่ ผู้ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองและเรียกร้องประชาธิปไตย รวมไปถึงพัฒนาการของการเคลื่อนไหวที่ขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
แนวคิด-ปรัชญา
15
มกราคม
2566
ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ กล่าวถึงการต่อสู้เพื่อกฎหมายสมรสเท่าเทียม อันเกิดจากเบื้องหลังในชีวิตและการทำงานในวงการบันเทิง รวมไปถึงยังได้ชี้ให้เห็นถึงการเปิดกว้างต่อความหลากหลายทางเพศในแวดวงบันสื่อบันเทิง ผ่านซีรีส์วาย รวมไปถึงข้อจำกัดที่ต้องประสบ คือ การปิดกั้นจากกฏหมายที่จำกัดสิทธิในการแสดงออก
แนวคิด-ปรัชญา
14
มกราคม
2566
ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล กล่าวถึงหนทางสู่ความเท่าเทียมทางเพศ ผ่านข้อเสนอเพื่อนำไปสู่จุดหมายและทลายปัญหาทางเพศที่เกิดขึ้นในสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
13
มกราคม
2566
ศ.ดร.ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น กล่าวถึงช่องว่างทางกฎหมายที่สังคมไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนบทบาทของอาจารย์ในสถานศึกษาซึ่งต้องช่วยสร้างพื้นที่ปลอดภัยแก่นักศึกษา นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงพัฒนาการด้านสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ผ่านกรณี ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงทิศทางของการต่อสู้ของกลุ่ม LGBTQIA+ ของไทยในอนาคต
Subscribe to สถาบันปรีดี พนมยงค์