ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สถาบันปรีดี พนมยงค์

แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2565
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง "ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ" "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" และ "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญดั้งเดิม" ตลอดจนเส้นทางของรัฐธรรมนูญนับตั้งแต่อดีตจนถึงฉบับปัจจุบันในสายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย พร้อมกันนี้ได้เน้นย้ำช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่กำลังจะมาถึง อีกทั้งยังถอดบทเรียนจากวรรณกรรมเรื่อง "เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" เพื่อให้ได้ซึ่งรัฐประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
13
ธันวาคม
2565
เสาร์ที่ 10 ธันวาคม 2565 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดีพนมยงค์ ร่วมกับ สถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” ขึ้น ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
11
ธันวาคม
2565
วันที่ 10 ธันวาคม (วานนี้) เนื่องในวาระ “วันรัฐธรรมนูญ” สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนาวิชาการ ภายใต้ชื่อ PRIDI Talks #18 x SDID “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทบาท-ผลงาน
28
พฤศจิกายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' หนึ่งในผู้ร่วมเดินทางได้จรดปลายปากกาเขียนบอกเล่าเรื่องราวการเยือนถิ่นประวัติศาสต์อันปรากฏร่องรอยของขบวนการเสรีไทยในพื้นที่จังหวัดตาก ณ หมู่บ้านชุมชนเล็กๆ คือ "ตรอกบ้านจีน" พร้อมด้วยชีวประวัติย่อของ 'นายหมัง สายชุ่มอินทร์' คหบดีผู้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และหัวหน้าเสรีไทยแห่งเมืองตาก
ชีวิต-ครอบครัว
30
ตุลาคม
2565
108 ปี ชาตกาล 'จำกัด พลางกูร'
แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2565
ท่ามกลางปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่นๆ ที่รายล้อมชีวิตของแรงงาน อัตราดังกล่าวเพียงพอต่อการดำรงชีวิตหรือไม่ ซึ่งผู้เขียนชวนสำรวจบทวิเคราะห์การเพิ่มอัตราค่าแรงขั้นต่ำ โดยได้เสนอทิศทางการกำหนดอัตราค่าจ้าง อันมีตัวแปรสำคัญ คือ "คุณภาพชีวิต" ที่มีมาตรฐานของแรงงานอยู่ในสมการนี้ด้วย เพื่อให้อัตราค่าแรงเป็นส่วนที่ช่วยในการยกระดับความเป็นอยู่ของแรงงานให้ดีมากยิ่งขึ้น
26
กันยายน
2565
19 กันยายน 2565 ที่ผ่านมา นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ กรรมการผู้จัดการสถาบันปรีดี พนมยงค์ รับมอบภาพวาด "รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ลูกหลานชาวนาผู้รักซึ่งความยุติธรรม" ผลงานโดยนายมงคล โคตรชาลี ศิลปินอิสระ
ชีวิต-ครอบครัว
22
กันยายน
2565
เมื่อสงครามสิ้นสุดแล้ว คุณไสวได้สมัครเป็นผู้แทนราษฎร และได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นบ้านเกิด ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการนายกรัฐมนตรี
Subscribe to สถาบันปรีดี พนมยงค์