สมรสเท่าเทียม
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
22
กันยายน
2567
บทวิเคราะห์ทางวัฒนธรรมและเนื้อหาภาพยนตร์เรื่องวิมานหนาม (The Paradise of Thorns) ซึ่งประกอบด้วยประเด็นร่วมสมัยในสังคมไทยทั้งกฎหมายสมรสเท่าเทียม เพศสภาวะ ครอบครัวในชนบท และเศรษฐกิจในท้องถิ่นห่างไกลอย่างแหลมคม
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
มิถุนายน
2566
บรรยากาศของการจัดงาน Bangkok Pride 2023 เทศกาลเฉลิมฉลองเพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงความหลากหลาย สิทธิเสรีภาพ และความเท่าเทียมของมนุษย์ โดยปราศจากเพศเป็นกรอบแบ่งแยกชีวิต ผู้เขียนยังเก็บเกี่ยวความหมายของกิจกรรมอื่นๆ เช่น นิทรรศการฝีมือของคนรุ่นใหม่ และ ถอดรหัสละครเวทีเรื่อง "อนธการ" (The Blue Hour)
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2566
นโยบายเพื่อประชาชนอาจต้องคำนึงถึงความชะงักงัน หากในกรณีมีการร้องเรียนต่อศาลรัฐธรรมนูญ และศาลอาจออกคำวินิจฉัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินนโยบาย ผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงกรณีศึกษาบางเรื่องผ่านคำวินิจฉัยในอดีตที่ผ่านมาเพื่อถอดบทเรียน เตรียมรับมือ และป้องกันช่องว่างทางกฎหมายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
มิถุนายน
2566
ความสำเร็จของพรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยภายหลังการเลือกตั้ง มีนัยสำคัญอย่างยิ่งต่อความเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความแข็งแรงและมั่นคงของการรวมตัวภาคประชาชนในรูปแบบสหภาพแรงงาน เพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและป้องกันไม่ให้ฝั่งอนุรักษนิยมชักนำให้ประเทศย้อนหลังกลับไปยังจุดเดิม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
มกราคม
2566
ศ.ดร.ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น กล่าวถึงช่องว่างทางกฎหมายที่สังคมไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนบทบาทของอาจารย์ในสถานศึกษาซึ่งต้องช่วยสร้างพื้นที่ปลอดภัยแก่นักศึกษา นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงพัฒนาการด้านสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ผ่านกรณี ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงทิศทางของการต่อสู้ของกลุ่ม LGBTQIA+ ของไทยในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2565
การขับเคลื่อนเพื่อรับรองการ “สมรสเท่าเทียม” ในประเทศไทยไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นกระบวนการที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาประมาณเกือบ 10 ปี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to สมรสเท่าเทียม
8
พฤษภาคม
2565
'สุประวีณ์ อาสนศักดิ์' ชวนให้สำรวจทั้งหลักนิติธรรมและหลักความเท่าเทียมผ่านการเรียกร้อง "สมรสเท่าเทียม" ทั้งตัวบทกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศต่างๆ การเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพที่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องสมรสเท่าเทียมในกฎหมาย และสุดท้ายกลับมาพิจารณาการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญไทยในคดีสมรสเท่าเทียม