ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สหภาพแรงงาน

แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ได้ตอบคำถามผ่านจดหมายเกี่ยวกับลัทธิแก้และรีวิสชันนิสม์ แก่พีรพันธุ์ พาลุสุข โดยนายปรีดีได้อธิบายถึงที่มาและความหมาย รวมถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับลัทธิแก้ในประเทศไทยท่ามกลางสถานการณ์ทางการเมืองที่ซ้ายมากขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2567
โครงสร้างแรงงานไทยเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลให้จิตสำนึกร่วมของแรงงานเสื่อมถอย แต่มีสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เกิดขึ้น สร้างโอกาสเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชน์แรงงานในอนาคต
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
6
มิถุนายน
2566
ความสำเร็จของพรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยภายหลังการเลือกตั้ง มีนัยสำคัญอย่างยิ่งต่อความเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความแข็งแรงและมั่นคงของการรวมตัวภาคประชาชนในรูปแบบสหภาพแรงงาน เพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและป้องกันไม่ให้ฝั่งอนุรักษนิยมชักนำให้ประเทศย้อนหลังกลับไปยังจุดเดิม
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2566
ความเป็นมาของวันแรงงานสากล กับความพยายามในการขับเคลื่อนเพื่อลดชั่วโมงการทำงานของผู้ใช้แรงงานทั่วโลก พร้อมคำถามและข้อฉงนระหว่างทางแห่งประวัติศาสตร์ของการเคลื่อนไหวว่า เป้าหมายคืออะไร การบรรลุเป้าหมายมีเพียงใด ผ่านวิธีการเช่นไร ระหว่างวิถีอันสันติกับความรุนแรง และให้บทเรียนอะไรบ้าง
Subscribe to สหภาพแรงงาน