ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หนังสือพิมพ์

แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2567
บนหน้าหนังสือพิมพ์ต่างๆ มากมายในช่วงเวลานั้นเต็มไปด้วยข่าวสารการเมืองที่เกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมือง การแย่งชิงอำนาจ และการช่วงชิงพื้นที่สื่อของบรรดานักการเมือง ทั้งนี้การเมืองในรูปแบบดังกล่าวไม่ใช่การเมืองที่สร้างสรรค์ต่อประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กรกฎาคม
2567
นายดิเรก ชัยนาม ผู้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศคนสำคัญในสมัยรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อท่านได้ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งดังกล่าวนี้ได้ทำให้เป็นที่พูดถึงอย่างมากต่อเหตุผลการตัดสินใจของท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤษภาคม
2567
หนังสือพิมพ์ไทยต้องเผชิญกับความท้าทายในการรายงานข่าวสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างเป็นกลางภายใต้คำสั่งทางราชการ พวกเขาจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการคัดเลือกข่าวที่น่าเชื่อถือเพื่อรักษาเกียรติภูมิในฐานะสื่อมวลชน
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2566
แนวคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย ปรากฏอยู่ในการรับรู้ของชนชั้นนำสยามและราษฎรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จากการเผยแพร่ของ The Bangkok Recorder ได้สร้างคุณูปการต่อการศึกษารัฐธรรมนูญของชนรุ่นหลังและเป็นส่วนหนึ่งที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัตน์ 2475
แนวคิด-ปรัชญา
31
มีนาคม
2566
118 ปี ชาตกาล กุหลาบ สายประดิษฐ์ เจ้าของนามปากกา 'ศรีบูรพา' ย้อนอ่าน ผ่านเรื่อง "หนังสือพิมพ์ในประเทศประชาธิปไตย"
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
มิถุนายน
2563
ความเป็นไม้เบื่อไม้เมาระหว่างรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดากับหนังสือพิมพ์สิ้นสุดลง เมื่อพระยาพหลพลพยุหเสนาได้ทํารัฐประหารยึดอํานาจจากรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 หนังสือพิมพ์ได้ให้ความสนับสนุนคณะรัฐประหารเป็นอย่างดี และแสดงความหวังเป็นอย่างมากว่า รัฐบาลชุดใหม่คงจะได้ตระหนักถึงสถานะและปัญหาของการดําเนินทุนหนังสือพิมพ์ ในฐานะสื่อมวลชนในสังคมประชาธิปไตยมากกว่ารัฐบาลชุดที่แล้ว
ศิลปะ-วัฒนธรรม
14
มิถุนายน
2563
สาเหตุของความแตกแยกภายในคณะราษฎร มีพื้นฐานสืบเนื่องมาจากความแตกต่างในอุดมการณ์ทางการเมืองของบุคคลชั้นหัวหน้าในคณะราษฎรเป็นสําคัญ  การรวมตัวกันของคณะราษฎรเป็นที่น่าสังเกตว่า ประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีแนวความคิดต่างกันอยู่มาก แต่เท่าที่สามารถรวมกลุ่มกันได้ในระยะแรก เป็นเพราะบุคคลเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายร่วมกันอยู่ คือ ความต้องการยึดอํานาจจากชนชั้นปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อสถาปนารัฐบาลชุดใหม่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
Subscribe to หนังสือพิมพ์