อานันท์ ปันยารชุน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ตุลาคม
2567
เกร็ดประวัติศาสตร์เรื่องอบ วสุรัตน์ กับเครื่องพิมพ์ดีดของปรีดี พนมยงค์ โดยยังเสนอชีวิตและงานของนายอบที่มีธุรกิจหนึ่งคือ ผู้แทนจำหน่ายเครื่องพิมพ์ดีดเรมิงตัน ซึ่งเป็นเครื่องพิมพ์ดีดที่นายปรีดีใช้ทำงานเป็นประจำ ณ บ้านอองโตนี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2567
ในบันทึกนี้เป็นเรื่องราวที่ สุโข สุวรรณศิริ ได้กล่าวถึงความทรงจำของ “วิเชียร วัฒนคุณ“ เพื่อนสนิทในครั้งขณะศึกษาชั้นเตรียมปริญญา ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ในแง่ของคุณงานความดี และหน้าที่การงาน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤษภาคม
2566
สำรวจความเป็นมาขององค์กรอิสระซึ่งทำหน้าที่เป็นกรรมการในการเลือกตั้ง อย่าง "กกต." จากที่ควรจะล่องหนไร้ตัวตนเพื่อกำกับการเลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมอยู่หลังม่านการเมือง กลับกลายเป็นผู้มีบทบาทเด่นจนถูกมองว่าเป็น "ผู้เล่น" สำคัญคนหนึ่งในเกมการเมืองเบื้องหน้า
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
เมษายน
2566
บอกเล่าบรรยากาศและสาระจากงานฉลองครบรอบ 90 ปีที่เวียนมาบรรจบของ 'ส. ศิวรักษ์' ปัญญาชนสยาม อันเป็นชีวิตที่มีโลกทัศน์ดำเนินไปพร้อมกับพลวัตทางสังคม ก่อร่างสร้างตัวตนให้บุรุษผู้นี้มีจุดยืนความคิดเป็นของตนเองมาตลอด 9 ทศวรรษที่ไหลเวียนอยู่ในสายธารของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2566
ปัญหาการเกิดขึ้นของ "นายกฯ คนนอก" ด้วยกระบวนการที่เปิดประตูให้แก่บุคคลนอกระบอบเล็ดลอดเข้ามามีอำนาจโดยไม่ผ่านกลไกด้วยระบอบประชาธิปไตย ปัญหาดังกล่าวถูกปิดตายด้วยรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ฉบับ 2540 กระทั่งปัญหาดังกล่าวบังเกิดอีกครั้งภายหลังการแทรกแซงทางการเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2557 ในรัฐธรรมนูญสืบทอดอำนาจ ฉบับ 2560
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to อานันท์ ปันยารชุน
6
ธันวาคม
2564
บริบทของการพัฒนากฎหมายแรงงานในประเทศไทย เริ่มต้นก่อรูปอย่างเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในช่วงหลังปี 2475 เนื่องจากในเวลานั้นอาชีพของคนส่วนใหญ่เป็นข้าราชการและเกษตรกร อาชีพแรงงานยังเป็นอาชีพของคนส่วนน้อยในประเทศ[1] และกลุ่มผู้ใช้แรงงานโดยส่วนมากเป็นคนต่างด้าวมากกว่า