ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อำนาจอธิปไตย

แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2567
สำหรับระบอบการปกครองประเทศที่มีอำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนพลเมืองทุกคนนั่นคือ “ประชาธิปไตย” ผ่านหลักการแยกอำนาจการปกครองในการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน และความเป็นประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญที่พลเมืองของประเทศควรปกป้องไว้
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
9
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นระบอบรัฐธรรมนูญของประเทศ ภายหลังเมื่อเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนำไปสู่การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นที่มาแห่งการรำลึกในนาม "วันรัฐธรรมนูญ" ของทุกๆ ปี รวมไปถึงขั้นตอน กระบวนการ และสาระสำคัญในการจัดทำรัฐธรรมนูญ ซึ่งท้ายที่สุดได้บรรลุผลเป็นหลักการกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศดังรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อีกทั้งความสำคัญของการมีส่วนทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤศจิกายน
2565
หน้าที่ประการแรกและเป็นประการสำคัญที่สุดของรัฐธรรมนูญ คือการเป็น “บทบัญญัติแห่งการจัดตั้งรัฐ” ดังนั้น ในมาตราแรกๆ ของรัฐธรรมนูญ มักจะกำหนดรูปแบบของรัฐ และกล่าวอ้างถึงที่มาแห่ง “อำนาจสูงสุด” ของประเทศนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
26
มีนาคม
2564
ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใดถือตามความเห็นชอบของอภิสิทธิ์ชนและจำกัดสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนพึงมีพึงได้ รัฐธรรมนูญนั้นก็ไม่ใช่ประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
20
ธันวาคม
2563
ในช่วง 14 ปีภายใต้การนำของท่าน ดร.ปรีดี ระบอบรัฐธรรมนูญของไทยได้ก้าวหน้าขึ้นมาก หากไม่มีการปฏิวัติรัฐประหารมาขัดจังหวะ การเมืองไทยก็คงจะมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพมากกว่านี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
ธันวาคม
2563
แม้เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นผู้ร่างปฐมรัฐธรรมนูญนี้ แต่หลายคนคงยังไม่ทราบว่า หลวงประดิษฐ์ฯ ใช้ให้ นายชุบ ศาลยาชีวิน เป็นผู้พิมพ์ดีดร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ขึ้นมา
บทบาท-ผลงาน
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
Subscribe to อำนาจอธิปไตย