ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อุตสาหกรรม

แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2567
รวบรวมบทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์วิทยาศาสตร์ในยุคที่ ดร.ตั้ว ลพานุกรม เป็นบรรณาธิการ พ.ศ. 2479-2480 แสดงให้เห็นความก้าวหน้าวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475
บทบาท-ผลงาน
11
มิถุนายน
2567
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้ปรับปรุงพิกัดอัตราศุลกากร โดยลดหรือยกเว้นภาษีสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษา เพิ่มภาษีสินค้านำเข้า ปรับวิธีเก็บภาษีข้าวจากเก็บตามสภาพเป็นเก็บตามราคา เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุนราษฎร โดยเฉพาะชาวนา
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2567
โครงสร้างแรงงานไทยเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลให้จิตสำนึกร่วมของแรงงานเสื่อมถอย แต่มีสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เกิดขึ้น สร้างโอกาสเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชน์แรงงานในอนาคต
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
เมษายน
2567
ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไทย เศรษฐกิจเป็นแบบดั้งเดิม ราษฎรส่วนใหญ่ยากจน ขาดความรู้ธุรกิจ ทุนกับการค้าตกอยู่ต่างชาติ รัฐไม่ส่งเสริมอุตสาหกรรมแต่เน้นเก็บภาษี ส่งผลกระจายรายได้ไม่เป็นธรรมและพัฒนาเศรษฐกิจล่าช้า
แนวคิด-ปรัชญา
9
มกราคม
2567
วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมเป็นปัจจัยสองสิ่งที่นับว่าสำคัญในการพัฒนาศักยภาพในการผลิตสินค้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเป็นผลให้ผลผลิตที่ออกมานั้นมีคุณภาพสูง ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม
แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤศจิกายน
2566
การรับรู้ของผู้คนในยุคหลังการอภิวัฒน์ 2475 ต่อคำว่า “วิทยาศาสตร์” มักถูกมองให้เป็นเรื่องของนักวิทยาศาสตร์ มิได้ข้องเกี่ยวกับตนแต่อย่างใด หรือกล่าวได้ว่า ผู้คนยังคงมอง “วิทยาศาสตร์” เป็นเรื่อง “อื่น” มิใช่เรื่องใกล้ตัวใดที่ต้องให้ความสำคัญ
Subscribe to อุตสาหกรรม