เฉลียว ปทุมรส
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2564
17 กุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี และ นายบุศย์ ปัทมศริน 3 จำเลยผู้บริสุทธิ์ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต
บทความ • บทสัมภาษณ์
14
มกราคม
2564
บันทึกความทรงจำของ ม.ร.ว.สายสวัสดี ธิดา ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ที่มีต่อท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทความ • บทสัมภาษณ์
13
มกราคม
2564
อ่านบทสัมภาษณ์ธิดาทั้งสองคนของท่านผู้หญิงพูนศุข ถึงบทบาทสำคัญของมารดาในฐานะผู้อยู่เคียงข้างผู้นำ อย่างนายปรีดี พนมยงค์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2564
ความทรงจำของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ซึ่งกลายมาเป็นคนใน 'ครอบครัวเดียวกัน' กับท่านผู้หญิงพูนศุข หลังการเสียชีวิตของ 'จำกัด' สามีของเธอในภารกิจเสรีไทย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
15
พฤศจิกายน
2563
15 พฤศจิกายน 2495 ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถูกจับกุมตัวในข้อหา 'กบฏสันติภาพ'
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to เฉลียว ปทุมรส
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร