เลือกตั้ง 2566
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ชุดคำอธิบายของ "การรัฐประหาร" โดยทั่วไปมักถูกนิยามว่าเป็นการใช้กำลังของกองทัพเข้าถอดถอนรัฐบาลเดิม ฉีกรัฐธรรมนูญ แต่สำหรับในปัจจุบันมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ดังปรากฏการวิเคราะห์และศึกษาขั้นตอนของการรัฐประหารผ่านรัฐธรรมนูญ (Constitutional coup) โดยเฉพาะในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2566
ย้อนรำลึกสายธารการต่อสู้เพื่อระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้ได้เน้นย้ำถึงความสำคัญในการรักษาชัยชนะของประชาชนจากผลการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา เพื่อสถาปนากลไกทางรัฐสภาให้เป็นไปตามครรลองของระบอบประชาธิปไตย พร้อมข้อเสนอ "5 ก้าวเพื่อรักษาชัยชนะของประชาชน" และ "ข้อเสนอความร่วมมือในการปกป้องประชาธิปไตย 5 ประการ"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2566
องค์กรตุลาการอย่าง "ศาลรัฐธรรมนูญ" ถูกหยิบยกเข้ามาร่วมในสมการทางการเมือง เนื่องจากตลอดระยะเวลานับตั้งแต่การรัฐประหารและความชะงักงันในปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา เป็นเวลากว่า 17 ปี ที่สังคมไทยต้องเผชิญกับนิติสงคราม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2566
ค้นหาคำตอบจากหลักวิชาการทางกฎหมายมหาชนและรัฐธรรมนูญ โดยย้อนกลับไปสู่นิยามของ "นายกรัฐมนตรี" และ "ประธานาธิบดี" ตำแหน่งทางการเมืองที่ยึดโยงอย่างมีนัยสำคัญต่อรูปแบบการปกครองและอำนาจอธิปไตยของรัฐ พร้อมทั้งพิจารณาเหตุและผลของที่มาในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อันสัมพันธ์ต่อกลไกของระบบตัวแทนจากประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2566
ประมวลและตั้งข้อสังเกตถึงการดำเนินงานของ "สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง" (กกต.) ในฐานะองค์กรผู้ควบคุมและดำเนินจัดการเลือกตั้ง นับตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 26 เมื่อปี พ.ศ. 2562 จนกระทั่งถึงการเลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ที่ผ่านมา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to เลือกตั้ง 2566
3
เมษายน
2566
ย้อนอ่านแนวคิดการเลือกตั้งและประชาธิปไตยของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ดังปรากฏในพระราชบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างเวลาที่ใช้บทบัญญัติฉะเพาะกาลของปฐมรัฐธรรมนูญ ในสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกของสยามเมื่อเข้าสู่การปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยภายหลังการอภิวัฒน์