ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เสนาะ นิลกำแหง

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2565
พื้นที่จังหวัดตากได้ปรากฏร่องรอยทางประวัติศาสตร์ในการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย ด้วยเหตุฉะนี้จึงนำไปสู่ความพยายามในการสร้างอนุสรณ์แห่งความทรงจำ ได้แก่ "ถนนเสรีไทย" ขึ้น ด้วยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเพื่อเป็นเกียรติแด่เหล่าวีรชนและผู้กล้าทั้งหลายที้มีส่วนในภารกิจกู้ชาติในครานั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2565
งานของเสรีไทยกลุ่มนี้เป็นแนวที่สี่ในสงคราม เรียกว่า สงครามจิตวิทยา (Psy-Chological warfare) หน่วยงานนี้สังกัดกระทรวงการสนเทศ (Ministry of Information ใช้อักษรย่อ MOI) ทหารเสรีไทยในกลุ่มสงครามจิตวิทยาได้รับยศนายทหารพร้อมกับ เสรีไทยกลุ่มช้างเผือก ซึ่งเป็นแนวที่ห้า ที่จะปฏิบัติการหลังแนวข้าศึก
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2565
"ความเป็นกลาง" ที่นายปรีดีเน้นย้ำก็ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีชื่อว่า "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งประกาศในตอนจบไว้ว่า “ชัยชนะแห่งสันติภาพมิได้มีชื่อเสียงบันลือนามน้อยไปกว่าชัยชนะแห่งสงคราม”
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2564
เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย: คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาสน์พลขันธ์ จำเลยคดีอาชญากรสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
ในบรรดาเสรีไทยสายอังกฤษที่เป็นทหาร นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้รับยกย่องทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการให้เป็นระดับหัวหน้าหรือระดับผู้นำคนหนึ่งของนักเรียนอังกฤษ ที่สมัครเข้าเป็นทหารในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และนอกจาก พ.ต. เสนาะ นิลกำแหง (เนติบัณฑิตไทยปี 2470) ผู้มีโอวุโสแล้ว “ป๋วย อึ๊งภากรณ์” เป็นผู้เดียวที่ได้รับยศพันตรีแห่งกองทัพบกอังกฤษ
Subscribe to เสนาะ นิลกำแหง