ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

24 มิถุนายน 2475

บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2567
สุนทรพจน์ของนายปรีดี พนมยงค์ ในโอกาสการจัดงาน “กึ่งศตวรรษประชาธิปไตย” วันที่ 24 มิถุนายน 2525 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 24-27 มิถุนายน 2525 ได้ชี้แจงถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
บทสัมภาษณ์
29
มกราคม
2567
PRIDI Interview : รำลึกการแปรอักษรงานบอลประเพณีฯ ครั้งประวัติศาสตร์ โดยวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ครบรอบ 41 ปี งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ - ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 39 กับเหตุการณ์การแปรอักษรครั้งประวัติศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
3
ธันวาคม
2566
เล่าถึงชีวประวัติของท่านอาจารย์ ปรีดี พนมยงค์ ในบทบาทเมื่อครั้งเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ในการพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับแรก นับแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองในนาม “คณะราษฎร”
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2566
“ตำนาน.........รัฐธรรมนูญ” แสดงความคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณ์ต่อรัฐธรรมนูญ ดังที่ปรากฏในหนังสือเนื่องในวันปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2534 อันเป็นการรำลึกถึงคุณูปการที่คณะราษฎรได้สร้างไว้ ในขณะเดียวกัน ก็ชี้ให้เห็นถึงความด่างพร่อยของรัฐธรรมนูญ ณ ขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มิถุนายน
2566
ณ เวลาย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน 2475 "คณะราษฎร" ก่อการอภิวัฒน์ให้บังเกิดขึ้นในสังคมไทยนำพาสยามหลุดพ้นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รุดหน้าไปสู่ระบอบประชาธิปไตย พร้อมประกาศพันธกิจเพื่อบำบัดทุกข์ที่เกิดขึ้นจากมรดกเก่า พร้อมบำรุงสุขให้สังคมความเท่าเทียมเกิดขึ้นในสังคมสยาม
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2566
ความหวังและความฝันของคนหนุ่มสาวในการเปลี่ยนผ่านสังคมไปสู่ระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง ผ่านการเคลื่อนไหวและการต่อสู้ของภาคประชาชนนับตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา เพื่อตั้งคำถามต่อโครงสร้างทางการเมืองที่ไม่เป็นธรรม และสร้างพื้นที่สาธารณะให้แก่ผู้คนซึ่งมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันภายในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤศจิกายน
2565
ความจริงเรื่องรัฐประหารล้มรัฐบาลนี้ เกิดเป็นรูปเป็นร่างหลังจากพรรคประชาธิปัตย์เปิดอภิปรายทั่วไป ไม่ไว้วางใจรัฐบาลธำรงนาวาสวัสดิ์มาตั้งแต่ปลายพฤษภาคม 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
Subscribe to 24 มิถุนายน 2475