ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

24 มิถุนายน 2475

เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)
บทบาท-ผลงาน
22
มิถุนายน
2563
ในบทความนี้จะพาทุกท่านมาสู่เนื้อหาของเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ โดยจะเริ่มจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมในช่วงปี พ.ศ. 2472-2475 เพื่อทำความเข้าใจบริบทในการเขียนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี
แนวคิด-ปรัชญา
19
มิถุนายน
2563
ในวาระครบรอบ 60 ปี แห่งการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ไทย ผมใคร่จะถือโอกาสนี้เขียนถึง ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ผู้เป็นมันสมองของคณะราษฎรในการอภิวัฒน์ครั้งนั้น 
บทบาท-ผลงาน
18
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต ได้ร่วมอภิปราย ความตอนหนึ่งดังนี้ ความจริงการเสวนาในวันนี้มีสองมิตินะครับที่กําหนดเป็นหัวข้อ มิติทางประวัติศาสตร์และมิติทางรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2745 พี่สุพจน์ [ด่านตระกูล] ได้พูดถึงมิติทางด้านประวัติศาสตร์ไปในรายละเอียด ผมจะขอให้ข้อสังเกตบางประการทางด้านมิติรัฐธรรมนูญฉบับแรก 
บทสัมภาษณ์
17
มิถุนายน
2563
โคทม อารียา เป็นผู้แทนสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน สัมภาษณ์นายปรีดี.
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2563
1. การยึดอำนาจการปกครองของคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นับว่าเป็นจุดสุดยอดของการสะสมความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ได้มีการประกาศพระราชกำหนดนิรโทษกรรม แก่คณะราษฎรและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475
ชีวิต-ครอบครัว
4
เมษายน
2563
ทีมงานเว็บไซต์ปรีดี-พูนศุข พนมยงค์ เรื่อง   การปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475 เป็นปฏิบัติการลับของบรรดานายทหารและพลเรือนกลุ่มหนึ่ง ทั้งหมดเป็นความลับที่มิอาจแพร่งพรายให้ผู้อื่นรับรู้ แม้แต่คนในครอบครัว  เมื่อถึงวันปฏิบัติการจริง สมาชิกคณะราษฎรแต่ละคนจึงมีวิธี “เลี่ยง” พูดความจริงต่อสมาชิกในครอบครัวแตกต่างกันไป
บทสัมภาษณ์
30
มีนาคม
2563
กษิดิศ อนันทนาธร เรื่อง   ผมได้ทราบจากอาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ มาเป็นระยะเวลานานพอสมควรว่า ดร.จริย์วัฒน์ สันตะบุตร คือบุคคลซึ่งอาจารย์ปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ รักเหมือนลูกคนสุดท้อง  เขาเป็นคนมีอารมณ์ขัน และเป็นคนหนึ่งที่กล้าแหย่ให้อาจารย์ปรีดีหัวเราะอย่างมีความสุขได้
บทบาท-ผลงาน
27
มีนาคม
2563
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เรื่อง   “คืนนั้นผมเข้านอนปรกติ ถึงเวลาเขามาปลุก บอกว่า ไปกันเถอะ แล้วต่างคนต่างแยกย้ายไปตามจุดนัดหมายตัวเอง ทุกหมู่เหล่ามีชาวบ้านอย่างเราไปอยู่ด้วย ถนนราชดำเนินตอนนั้นเงียบมาก พี่ชายบอกว่า เดี๋ยวมีคนเอาปืนมาให้ ผมคิดอย่าเดียวว่า ตั้งใจมาทำงานให้สำเร็จ เขาสู้ก็สู้กับเขา ตายก็ตาย…” กระจ่าง ตุลารักษ์ คณะราษฎรคนสุดท้าย ผู้อยู่ในเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครอง หวนรำลึกเหตุการณ์ในเช้าวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ระหว่างให้สัมภาษณ์นิตยสาร สารคดี ก่อนเสียชีวิตไม่นาน
Subscribe to 24 มิถุนายน 2475