ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

24 มิถุนายน 2475

เกร็ดประวัติศาสตร์
1
สิงหาคม
2563
กล่าวได้ว่า กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “อีสาน” ดูจะโดดเด่นเป็นพิเศษในฐานะที่พยายามทําหน้าที่เป็นตัวแทนของ คนส่วนใหญ่ จาก “วงนอก” และจาก “ชายขอบ” เป็นปากเสียงและต่อรองให้ผู้ที่อยู่นอกศูนย์กลางของอํานาจ (กรุงเทพฯ)
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
บทบาท-ผลงาน
29
กรกฎาคม
2563
ในวาระ 75 ปี วันสันติภาพไทย (16 สิงหาคม 2488-2563) ที่จะมาถึงนี้ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' กล่าวถึงบทบาทและความสำคัญของธนาคารแห่งประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาท-ผลงาน
23
กรกฎาคม
2563
สันติสุข โสภณสิริ กล่าวถึงหนังสือเล่มต่าง ๆ ของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่านบทความ "ปรีดี พนมยงค์ ในแวดวงหนังสือ" ชิ้นนี้
บทสัมภาษณ์
22
กรกฎาคม
2563
ในปี 2527 กองบรรณาธิการมติมหาราษฎร์ได้สัมภาษณ์ ม.ร.ว.เสนีย์ ในหลายประเด็น ทั้งการชิงสุกก่อนห่ามของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ความเห็นต่อเค้าโครงการเศรษฐกิจ การเกิดกบฏบวรเดช การทำงานขบวนการเสรีไทย เกร็ดเรื่องการได้รับเชิญจากนายปรีดีให้มาเป็นนายกรัฐมนตรี กรณีสวรรคต รวมถึงความขัดแย้งกับนักการเมืองคนสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ อย่างนายควง อภัยวงศ์ และ ม.ร.ว.เสนีย์ เอง
แนวคิด-ปรัชญา
19
กรกฎาคม
2563
“สังคมก็จะดํารงอยู่ได้ก็ด้วยมวลราษฎร ดังนั้นเอง ระบบสังคมที่จะทําให้มวลราษฎรมีพลังผลักดันให้สังคมก้าวหน้า ก็คือ ระบบประชาธิปไตย… คือ หมายถึงระบบที่ประชาชนหรือมวลราษฎรมีอธิปไตย...” -- ปรีดี พนมยงค์
บทสัมภาษณ์
16
กรกฎาคม
2563
ที่ผ่านมา อจ.ปรีดีท่านได้พยายามทำเพื่อชาติบ้านเมืองตลอดเวลา แต่ก็ยังถูกกลั่นแกล้งใส่ร้าย ไม่ทราบว่าพี่เคยเห็น อจ.ท้อใจหรือเคยบ่นให้ลูก ๆ ฟังบ้างหรือไม่ อันนี้รู้สึกจะเป็นคุณธรรมข้อหนึ่งที่ท่านมีอยู่ คือท่านไม่เคยแสดงความท้อใจและไม่เคยบ่นเลย จนกระทั่งหลายต่อหลายคนเคยพูดเหมือนกันว่า ถ้าเขาโดนสภาพเช่นเดียวกับท่านอาจารย์ก็คงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้ แต่คณพ่อพี่ถึงแม้จะถูกกลั่นแกล้งใส่ร้ายยังไง ท่านก็ยังมีเจตนาบริสุทธิ์ที่จะทำอะไรเพื่อความเจริญของบ้านเมือง จนกระทั่งไปอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ท่านก็ยังพยายามเขียนข้อเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ในบั้นปลายชีวิต แม้เรื่องกรณีสวรรคตก็ไม่เคยบ่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กรกฎาคม
2563
ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา หากจะถามหาสามัญชนที่เป็นอัจฉริยะและรัตนบุรุษ ผู้สร้างคุณูปการต่อชาติและศาสนา ทั้งในฝ่ายฆราวาสและบรรพชิตแล้ว นายปรีดี พนมยงค์และท่านพุทธทาสภิกขุ ย่อมอยู่ในฐานะอันโดดเด่น ควรแก่การยกย่อมอย่างแท้จริง ทั้งความรู้ ความสามารถ ความเสียสละ ความสะอาดบริสุทธิ์ ความซื่อสัตย์สุจริตและความเห็นการณ์ไกล ซึ่งประวัติศาสตร์ชาติไทยจักต้องจารึกความสำคัญของท่านทั้งสองไว้นานเท่านาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)
Subscribe to 24 มิถุนายน 2475