ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

24 มิถุนายน 2475

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ตุลาคม
2563
ใครบ้างจะนึกฝันว่าเพื่อนร่วมห้องของข้าพเจ้าในคืนวันนั้นจะเปนผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉะบับแรกของเมืองไทย จะเปนคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของประเทศสยาม และถือทุกข์ สุข ของคนตั้ง ๑๑ ล้านคนไว้ในกำมือ?
บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2563
เหตุใดหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) จึงไม่ได้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรนั้น อ่านต่อได้ในบทความของ 'อุดม เจริญรัตน์' เรื่องนี้
แนวคิด-ปรัชญา
30
กันยายน
2563
28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม นายปรีดี พนมยงค์ เป็นเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้กล่าวถ้อยคำที่แสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ของสภาผู้แทนราษฎรด้วยความเข้มขลัง ไว้ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรก
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2563
เอกราชในความใฝ่ฝันของปรีดี พนมยงค์ ก็เป็นความใฝ่ฝันร่วมกับผู้นํายุคใหม่ หลังปี พ.ศ. 2475 คนอื่น ๆ ที่ต้องการให้สยามมีเอกราชบริบูรณ์ปราศจากอํานาจสิทธิพิเศษใด ๆ บนแผ่นดินสยาม
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2563
อ่านชีวประวัติอันผันผวนของนายปาล บุตรชายรัฐบุรุษอาวุโส พลทหารผู้กลายเป็นกบฏ ได้จากบทความของท่านผู้หญิงพูนศุขเรื่องนี้
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2563
กษิดิศ อนันทนาธร   ในห้วงบรรยากาศแห่งความร้อนแรงทางการเมืองของการ ‘รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์’ กับการ ‘ชังชาติ’  เราได้เห็นมวลอาณาราษฎรแสดงความจงรักภักดีอย่างแตกต่างกันออกไป บ้างจงรักอย่างห้อยโหน บ้างจงรักอย่างสุจริตใจ บ้างจงรักทักท้วงด้วยความปรารถนาดีที่จะให้สถาบันพระมหากษัตริย์สถิตสถาพร ยืนยงคงอยู่คู่กับระบอบประชาธิปไตยแห่งสยามรัฐสีมาตราบเท่ากัลปาวสาน
17
สิงหาคม
2563
'อนุสรณ์ ธรรมใจ' ประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ บรรยายบทเรียนจากขบวนการเสรีไทยว่าด้วย วิกฤตเศรษฐกิจและการอภิวัฒน์สู่สันติ ในวาระ 75 ปีวันสันติภาพไทย แนะแนวทางออกจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและความเสี่ยงของความรุนแรงและการรัฐประหารครั้งใหม่ ชี้การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและสันติธรรมเป็นสงครามยืดเยื้อ อาจต้องใช้เวลาชั่วชีวิต  
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดีในฐานะผู้นําคนหนึ่งของคณะราษฎรได้พยายามผลักดันให้หลัก 6 ประการของคณะราษฎรเป็นจริง มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ตามเจตนารมณ์หนึ่งในหลัก 6 ประการ ดังกล่าว คือ การที่จะให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2563
ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้ทรงได้รับการยกย่องเป็น "บิดาและองค์ปฐมาจารย์ของนักนิติศาสตร์แห่งประเทศไทย" จึงขอร่วมรำลึกถึงเสด็จในกรมพระองค์นั้น ผ่านบทความ "การยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต: จากกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถึงนายปรีดี พนมยงค์"
Subscribe to 24 มิถุนายน 2475