ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สนธิสัญญาเบาว์ริง

แนวคิด-ปรัชญา
26
เมษายน
2566
ผลกระทบภายหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจของสังคมสยาม และการกำหนดประเภทของภาษี รวมถึงผลกระทบของภาษีที่เกิดขึ้นกับสังคม และความพยายามของคณะราษฎรเพื่อสร้างความเป็นธรรมในระบอบภาษีของสยาม
แนวคิด-ปรัชญา
10
เมษายน
2566
จากหลัก 6 ประการข้อที่ 3 ว่าด้วย "เศรษฐกิจ" สู่ความพยายามของคณะราษฎรต่อนโยบายการปฏิรูปที่ดินหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ซึ่งต้องเผชิญแรงเสียดทานของผู้คนในระบอบเก่า
24
มิถุนายน
2565
๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ มีความสำคัญเพียงใดต่อประเทศชาติ ประชาชนและประชาธิปไตย เป็นสิ่งที่มีการถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์กันมานาน ด้วยจุดยืนทางการเมือง อคติทางการเมืองและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันไป ข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ ๙๐ ปีที่แล้ว จึงมีลักษณะของ “คำประกาศ” ของแต่ละฝ่ายมากกว่าเหตุผลหรือหลักฐานข้อเท็จจริง 
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
มิถุนายน
2565
การทำนาเป็นรากฐานสำคัญที่สุดของเศรษฐกิจสังคมสยาม ตลอดระยะเวลาของประวัติศาสตร์อันยาวนาน การปลูกข้าวเพื่อส่งออกและการค้าภายในเป็นกิจกรรมหลักทางเศรษฐกิจ โดยในช่วงต้นของ พ.ศ. 2400 สินค้าส่งออกทางการเกษตรมีสัดส่วนถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด สังคมเกษตรกรรมช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงต่อเนื่องยาวนานจนถึง พ.ศ. 2490 สังคมภาคเกษตรในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ถือเป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยชาวนาอิสระจำนวนมาก และชาวนาเหล่านี้ก็สามารถจับจองพื้นที่ในการเพาะปลูกได้ สังคมในลักษณะดังกล่าวสะท้อนถึงวัฒนธรรมแห่งการพึ่งตนเอง ให้คุณค่ากับความเสมอภาค และยึดถือประเพณีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2565
บนหน้าประวัติศาสตร์ความเหลื่อมล้ำของไทย เลี่ยงไม่ได้ที่ต้องพิจารณาการถือครองที่ดิน เพราะเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ
บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
แนวคิด-ปรัชญา
21
เมษายน
2565
'อิทธิพล โคตะมี' ชวนให้ศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ถึงสภาวะที่ยากแค้นของราษฎรในแผ่นดินสยาม กับกระบวนการสะสมทุนทางเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำจนส่งผลโดยตรงต่อความทุกข์ยากของราษฎร
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2564
เหตุแห่งการทำ “สนธิสัญญาเบาว์ริง” นั้นเป็นจุดเปลี่ยนของสยามในหลายลักษณะ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และระบบราชการของประเทศ โดยหนึ่งในเรื่องที่มีความสำคัญเรื่องหนึ่งก็คือ “การเสียเอกราชทางการศาล”
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2564
“สนธิสัญญาเบาว์ริง” หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ “หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษแลประเทศสยาม” ซึ่งจัดทำขึ้นระหว่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ซึ่งคนไทยมักจะเรียกว่าอังกฤษกับประเทศไทยหรือสยามในเวลานั้น
แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2564
“สนธิสัญญาเบาว์ริง” เป็นเครื่องมือสำคัญในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจสยามเข้ากับโลกเศรษฐกิจของยุโรป
Subscribe to สนธิสัญญาเบาว์ริง