ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กบฏวังหลวง

เกร็ดประวัติศาสตร์
15
มกราคม
2568
ในวาระรำลึกชาตกาลของชนิด สายประดิษฐ์ ผู้ก่อตั้งสำนักพิมพ์สุภาพบุรุษ ร่วมกับกุหลาบ สายประดิษฐ์ และผลงานการแปลในนามปากกา “จูเลียต” ที่ทำงานภายใต้อุดมการณ์เพื่อสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
6
เมษายน
2566
ทรรศนะทางการเมืองต่อเรื่องกลไกประชาธิปไตย เพื่อส่งใจความไปถึงเหล่าองคาพยพทางการเมืองทุกฟากฝ่าย โดยเฉพาะผู้ที่มีอำนาจขึ้นมาได้จากการใช้อำนาจนอกระบอบ กุหลาบชี้ชัดให้เห็นว่าระบบการเมืองที่มั่นคงและตั้งตรงด้วยหลักการ จะเป็นเสมือนปราการที่คอยป้องกันมิให้สิ่งไม่ดีเกิดขึ้นในระบบการเมืองได้น้อยครั้งที่สุด
แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2566
ย้อนรอยสำรวจการเมืองแห่งการอ่าน ผ่านการปะทะโต้ตอบทางอุดมการณ์ด้วยการผลิตตีพิมพ์ซ้ำระหว่าง "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" โดยเริ่มต้นข้อทบทวนความเป็นมาและเป้าหมายของเอกสารทางประวัติศาสตร์ทั้งสองฉบับ ก่อนจะนำไปสู่การพยายามรื้อฟื้นเอกสารทั้งสองฉบับในนับตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นไป
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึง การสร้างระบอบประชาธิปไตยให้ลงหลักปักฐานอย่างตั้งมั่น ผ่านแนวคิดสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญอันเป็นหลักการคุณค่าสูงสุดของระบอบประชาธิปไตยบนหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย ท่ามกลางอุปสรรคการในการปกป้องระบอบประชาธิปไตยที่ต้องเผชิญกับการรัฐประหารด้วยอำนาจนอกระบบจากกลุ่มศักดินา
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
บทบาท-ผลงาน
26
กุมภาพันธ์
2564
ขบวนการประชาธิปไตย นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นระบบประชาธิปไตยโดยสมบูรณ์ตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 จึงไม่ควรที่ผู้รณรงค์เพื่อความเป็นประชาธิปไตยจะสนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่มและระบบต่าง ๆ ที่สืบเนื่องจากระบบใต้ตุ่ม โดยใส่ความว่า "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" เป็น "ขบถวังหลวง"
บทบาท-ผลงาน
23
กุมภาพันธ์
2564
พวกปรปักษ์ประชาธิปไตยเรียก “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์” ว่า “ขบถวังหลวง” บางคนก็พลอยเรียกเช่นนั้น โดยไม่พิจารณาตามหลักวิชาการแท้จริงว่า ขบวนการดังกล่าวนั้นเป็นขบถต่อระบบปกครองประชาธิปไตยที่ได้สถาปนาขึ้นโดยถูกต้องสมบูรณ์ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ หรือเป็นขบวนการที่ต่อต้านพวกปฏิกิริยาที่ทําลายระบบประชาธิปไตยซึ่งได้สถาปนาถูกต้องสมบูรณ์ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ
บทสัมภาษณ์
13
มกราคม
2564
อ่านบทสัมภาษณ์ธิดาทั้งสองคนของท่านผู้หญิงพูนศุข ถึงบทบาทสำคัญของมารดาในฐานะผู้อยู่เคียงข้างผู้นำ อย่างนายปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
12
พฤศจิกายน
2563
ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" หรือที่มักเรียกกันว่า กบฏวังหลวง เหตุใด "จึงมิใช่กบฏต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
Subscribe to กบฏวังหลวง