ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กรมโฆษณาการ

แนวคิด-ปรัชญา
1
ธันวาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์ระบบราชกาารของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ปี 2492 ว่าไม่มีหลักและไม่มีระเบียบ มีรูปแบบเผด็จการโดยใช้กรมโฆษณาการเป็นเครื่องมือทางการเมืองและดำเนินนโยบายตามอังกฤษและสหรัฐอเมริกา
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนถึงประชาธิปไตยในสมัย พ.ศ. 2492 ที่อยู่ในระยะเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตย โดยมีกรมโฆษณาการเรื่องราวประชาธิปไตยทางวิทยุกระจายเสียง
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
สิงหาคม
2567
บทความฉบับนี้นำเสนอรายละเอียดของเหตุการณ์ภายหลังการเข้ามาของประเทศญี่ปุ่น และบทบาทกรมโฆษณาการในการทำสงครามจิตวิทยา
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มิถุนายน
2567
วันชาติ พ.ศ. 2484 กรมโฆษณาการโดยรัฐบาลได้ริเริ่มจัดพิมพ์หนังสือรายเดือนหัวสำคัญชื่อว่า “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำหน่ายในราคาเล่มละ 1 บาท ตัวเล่มจัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์ไทยเขษม แล้ววางตลาดต่อเนื่องนับจากวันชาติ พ.ศ. 2484 จนถึงฉบับสุดท้ายเพื่อเฉลิมฉลอง “งานรัฐธรรมนูญ” บทความนี้จะนำเสนอเกร็ดประวัติศาสตร์จาก “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำนวน 5 เล่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ธันวาคม
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เล็กน้อย ณ ห้วงยามที่กองกำลังญี่ปุ่นกำลังคืบคลานเข้าสู่คาบสมุทรมลายู ถึงบทบาทของคุณวิลาศ โอสถานนท์ในฐานะอธิบดีกรมโฆษณาการ นำเสนอในที่ประชุมประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม 2484
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2563
ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีความพยายามถักทอจิตสํานึกในเรื่องชาติไว้เป็นฐานสําหรับค้ําจุนอํานาจความชอบธรรม ชาวไทยสมัยนั้นจึงถูกกระตุ้นเตือนอยู่ตลอดเวลาว่า ตนกําลังใช้ชีวิตอยู่ใน “ประเทศไทยใหม่” จึงต้องประพฤติตัวให้เป็น “ผู้มีอารยะ” เพื่อช่วยกันสร้างชาติให้ยิ่งใหญ่
Subscribe to กรมโฆษณาการ