ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การอภิวัฒน์สยาม

บทบาท-ผลงาน
15
มีนาคม
2564
เมื่อปรีดีเริ่มริสอน “กฎหมายรัฐธรรมนูญ” ในเมืองไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
4
พฤศจิกายน
2563
การกลับมาอีกครั้งของละคอน "คือผู้อภิวัฒน์" ในช่วงเวลาที่ความสนใจต่อประวัติศาสตร์การเมือง ในช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กำลังอยู่ในกระแสของสังคม ท่ามกลางช่วงเวลาที่คุณค่าซึ่งผูกพันกับอุดมการณ์แบบอำนาจนิยมเริ่มถูกตั้งคำถามในทุกปริมณฑลของชีวิต
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ตุลาคม
2563
ในวาระ 110 ปีแห่งการสวรรคตของรัชกาลที่ 5 ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ถอดบทเรียนการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัย จากยุคของรัชกาลที่ 5 มาจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2563
จากอุทาหรณ์ในประวัติศาสตร์ นายปรีดีเห็นได้ว่า ในยุโรปนั้นระบบประชาธิปไตยโดยวิธีสันติเป็นไปได้โดยเงื่อนไข 2 ประการ คือ...
แนวคิด-ปรัชญา
13
ตุลาคม
2563
เมื่อ 20 ปีก่อน ในช่วง 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2543) ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ อ่านบทความ "จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม" ของปรีดี พนมยงค์ แล้วตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจไว้หลายประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ตุลาคม
2563
ใครบ้างจะนึกฝันว่าเพื่อนร่วมห้องของข้าพเจ้าในคืนวันนั้นจะเปนผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉะบับแรกของเมืองไทย จะเปนคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของประเทศสยาม และถือทุกข์ สุข ของคนตั้ง ๑๑ ล้านคนไว้ในกำมือ?
บทบาท-ผลงาน
12
กันยายน
2563
'ทองปราย พันแสง' กล่าวถึงรอยด่างทางประวัติศาสตร์ กับอุปทานคติการเมือง หลังการอสัญกรรมของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2526
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก
บทบาท-ผลงาน
8
กรกฎาคม
2563
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ตั้งข้อสังเกตถึงสาระสำคัญบางประการใน 'เค้าโครงการเศรษฐกิจ' ของปรีดี พนมยงค์ คือ เรื่องการกระจายอำนาจเพื่อเป็นฐานในทางเศรษฐกิจไปยังพื้นที่ชนบท และการสร้างระบบเศรษฐกิจความมั่นคงของชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กรกฎาคม
2563
ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา หากจะถามหาสามัญชนที่เป็นอัจฉริยะและรัตนบุรุษ ผู้สร้างคุณูปการต่อชาติและศาสนา ทั้งในฝ่ายฆราวาสและบรรพชิตแล้ว นายปรีดี พนมยงค์และท่านพุทธทาสภิกขุ ย่อมอยู่ในฐานะอันโดดเด่น ควรแก่การยกย่อมอย่างแท้จริง ทั้งความรู้ ความสามารถ ความเสียสละ ความสะอาดบริสุทธิ์ ความซื่อสัตย์สุจริตและความเห็นการณ์ไกล ซึ่งประวัติศาสตร์ชาติไทยจักต้องจารึกความสำคัญของท่านทั้งสองไว้นานเท่านาน
Subscribe to การอภิวัฒน์สยาม