ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเมือง

แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2567
บนหน้าหนังสือพิมพ์ต่างๆ มากมายในช่วงเวลานั้นเต็มไปด้วยข่าวสารการเมืองที่เกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมือง การแย่งชิงอำนาจ และการช่วงชิงพื้นที่สื่อของบรรดานักการเมือง ทั้งนี้การเมืองในรูปแบบดังกล่าวไม่ใช่การเมืองที่สร้างสรรค์ต่อประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
24
สิงหาคม
2567
คำว่า “เล่นการเมือง” ในมุมมองของสังคมไทยมักถูกนำมาใช้งานในความหมายที่กว้างขวาง จนทำให้ก่อเกิดการตีความที่ผิดเพี้ยนไปมากมายต่อผู้ที่ไม่ได้มีบทบาทเป็นนักการเมืองโดยตรง เพียงแค่เขาเหล่านั้นสนใจความเป็นไปของการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กรกฎาคม
2567
นายดิเรก ชัยนาม ผู้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศคนสำคัญในสมัยรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อท่านได้ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งดังกล่าวนี้ได้ทำให้เป็นที่พูดถึงอย่างมากต่อเหตุผลการตัดสินใจของท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
กรกฎาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้บรรยายถึงบรรยากาศในสภาวันจันทร์ของการประชุมอภิปรายทั่วไปของฝ่ายค้านในการวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลคือ พรรคประชาธิปัตย์กับคณะรัฐบาลของนายพล ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัลแรกนาขวัญถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบและความหมายตามนาฏกรรมของรัฐในแต่ละยุค บางช่วงเน้นประชาชน บางช่วงใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง สะท้อนการเปลี่ยนแปลงบทบาทและความสำคัญของพระราชพิธีในสังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้ออกจากประเทศไทยและเดินทางไปยังหลายประเทศ โดยตลอดเวลาที่อยู่ในต่างประเทศนั้น ปรีดีได้ติดตามสถานการณ์การเมืองในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด และเมื่อในปี 2476 รัฐบาลไทยได้เรียกให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
20
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ ผู้เขียนนอกจากจะวิเคราะห์กลุ่มพรรคการเมืองทั้งสองกลุ่มว่า นำเสนอนโยบายต่างประเทศที่มีจุดเน้นแตกต่างกันแล้ว ยังย้อนรำลึกถึงนโยบายของรัฐบาลบางชุดในอดีต
แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2566
หนึ่งในปัจจัยสำคัญและแสนยากเข็ญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองคือ การเปลี่ยนทัศนคติและมุมมองทางการเมือง ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับบุคคลที่จะเปลี่ยนความเชื่อหรือฟากฝั่งที่ตนยึดถือมาตลอด โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ผูกพันกับความเชื่อดังกล่าว โดยเฉพาะชนชั้นนำอนุรักษนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
Subscribe to การเมือง