ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเมืองไทย

บทสัมภาษณ์
24
กรกฎาคม
2567
บทสัมภาษณ์ประสบการณ์ของ อรุณ เวชสุวรรณ อดีตนักหนังสือพิมพ์ผู้เคยเดินทางไปสัมภาษณ์อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ครั้งเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส ได้พูดคุยถึงประเด็นต่างๆ มากมายที่มีความเกี่ยวข้องกับอ. ปรีดีฯ
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญฉบับที่เป็นตัวกฎหมายกับฉบับวัฒนธรรม และการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านมโนทัศน์ ‘รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม’
แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2566
การได้มาซึ่งสันติภาพของประเทศไทยล้วนมาจากการเสียสละของสมาชิกขบวนการเสรีไทยทุกภาคส่วนและไม่ใช่เพียงแค่การต่อต้านผู้มารุกรานไทยเท่านั้น แต่ยังต้องรักษาความเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตรด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2566
บทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน โดยกล้า สมุทวณิช ผู้สัมภาษณ์ อาทิ อุปสรรคของประชาธิปไตยไทย, บทบาทและความจำเป็นขององค์กรอิสระ, ข้อเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศและความชอบธรรมทางการเมือง, เรื่องเร่งด่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ ตลอดจนทางออก ข้อเสนอ และข้อคิดเห็นถึงการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ที่สมควรจะเกิดขึ้น เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2566
วาทกรรม "เล่นการเมือง" มักถูกใช้เป็นคำกล่าวถึงผู้ที่สนใจความเป็นไปของบ้านเมือง นัยของวาทกรรมดังกล่าวสะท้อนถึงการจัดตำแหน่งแห่งที่และแบ่งแยกการเมืองให้ห่างไกลออกจากประชาชน
13
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมรณรงค์เชิญชวนประชาชนย่านทองหล่อออกไปใช้สิทธิตามหน้าที่ของพลเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งครั้งที่ 27 ที่กำลังมาถึง ในวันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 โดยนำ “คู่มือเลือกตั้ง 66 เรียนรู้จากอดีต กาเพื่ออนาคต” เอกสารประกอบการเลือกตั้งซึ่งจัดทำโดยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) ภายในเล่มประกอบไปด้วย ข้อควรรู้ก่อนเข้าคูหา, กติการะบบการเลือกตั้ง, ข้อมูลพรรคการเมือง, จุดยืนพรรคการเมือง และหนทางสู่ประชาธิปไตยหลังการเลือกตั้ง เพื่อเ
Subscribe to การเมืองไทย