ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ขบวนการเสรีไทย

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2563
เป็นที่น่าเสียดายว่ากระแสประชาธิปไตยและปรีดีศึกษาที่ดูเหมือนกำลังไปได้ดีกลับถูกเหนี่ยวรั้งให้ชะลอตัวลงจากรัฐประหาร ๑๙ ก.ย.๒๕๔๙ รัฐบาลพลเรือนผ่านการเลือกตั้งต้องพ้นวงจรอำนาจไปอีกครั้ง รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ ถูกฉีกทิ้ง พร้อมกับระบอบขุนทหารฝ่ายอนุรักษ์นิยมกลับขึ้นมามีอำนาจ บุคคลจำนวนไม่น้อยที่เคยร่วมฉลองและมีส่วนในการฟื้นภาพลักษณ์นายปรีดี พนมยงค์ เริ่มเผยทัศนคติย้อนแย้งต่ออุดมการณ์ประชาธิปไตยด้วยการหันไปสนับสนุนเผด็จการทหาร
บทสัมภาษณ์
10
มิถุนายน
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข เกิดในสมัยรัชกาลที่ 6 ในตระกูล ณ ป้อมเพชร์ ซึ่งเป็นตระกูลขุนนาง  บิดาของท่านคือ พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรกของประเทศ  เมื่ออายุไม่ถึง 17  ปี ท่านผู้หญิงก็สมรสกับนายปรีดี พนมยงค์ ดอกเตอร์หนุ่มนักกฎหมายชื่อดังสมัยนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2563
"ทัศนะต่อท่านปรีดีจากมิตรและบุคคลที่รู้จัก" บทความนี้ผู้เขียนได้รวบรวมทัศนะของบุคคุลที่มีความผูกพันและเกี่ยวข้องกับนายปรีดีมารวบรวมไว้ ดังนี้ 1. “สุลักษณ์ ศิวรักษ์” จากปฏิปักษ์สู่กัลยาณมิตร 2. สุภาพสตรีผู้ศรัทธาในตัว ปรีดี พนมยงค์ 3. บทสัมภาษณ์นายปรีดี 'รงค์ - ตะวันใหม่ - อรุณ - ฉัตรทิพย์
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
พฤษภาคม
2563
หนังสือชีวประวัติปรีดี พนมยงค์ เล่มแรก ตีพิมพ์ปีไหน? ใครเป็นคนเขียน? มีกี่เล่มที่สำคัญ?
บทบาท-ผลงาน
22
พฤษภาคม
2563
การเปลี่ยนแปลงการปกครองยังไม่ทันผ่านพ้นข้ามปี อาจารย์ปรีดีก็สามารถก่อตั้ง “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง” ขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2476 ในฐานะผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย อาจารย์ปรีดีได้แถลงถึงเจตนารมณ์ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้เอาไว้ว่า เพื่อจะได้ช่วยบำบัดความกระหายการศึกษาของราษฎรโดยทั่วไป
บทบาท-ผลงาน
7
พฤษภาคม
2563
ขบวนการเสรีไทยเกิดจากการรวมตัวของคนไทยทุกชนชั้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีความมุ่งหมายในการต่อสู้เพื่อเอกราช อธิปไตยและสันติภาพของประเทศ ผู้ที่เข้าร่วมขบวนการทุกท่านต้องถือว่า มีความเสียสละและความกล้าหาญอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ได้เข้ามาปฏิบัติการในประเทศไทยภายใต้การยึดครองของกองทัพญี่ปุ่น “ขอให้เราอย่านึกถึงตัวตนของบุคคล ซึ่งย่อมร่วงโรยไปตามกาลเวลา แต่ขอให้นึกถึงงานอมตะของเขา บุคคลอาจจะแตกต่างด้วยกำเนิด ด้วยฐานะและการศึกษา แต่การเสียสละเป็นยอดแห่งคุณธรรม ที่ยกให้มนุษย์อยู่ในระดับเดียวกัน”
2
มีนาคม
2563
คำปราศรัย สุนทรพจน์บางเรื่อง ของนายปรีดี พนมยงค์ และ บางเรื่องเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทย ผู้เขียน : ปรีดี พนมยงค์ พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล สหประชาพาณิชย์, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2517 จำนวนหน้า : 226 หน้า ISBN : - สารบัญ
2
มีนาคม
2563
จดหมายของนายปรีดี พนมยงค์ ถึงพระพิศาลสุขุมวิทเรื่องหนังสือจดหมายเหตุของเสรีไทย เกี่ยวกับปฏิบัติการในแคนดี นิวเดลฮี และ สหรัฐอเมริกา ผู้เขียน : - พิมพ์ที่ : - พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : - จำนวนหน้า : 114 หน้า ISBN : - สารบัญ - https://pridi.or.th/sites/default/files/pdf/pridibook084.pdf
2
มีนาคม
2563
เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย : คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาสน์พลขันธ์ จำเลย คดีอาญาสงคราม หนังสือเล่มนี้เล่าเรื่องเบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทยซึ่งมีบทบาทสำคัญในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีผลต่อการรักษาสันติภาพไทย ผู้เขียน : ปรีดี พนมยงค์ พิมพ์ที่ : สำนักพิมพ์สันติธรรม, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2517 จำนวนหน้า : 72 หน้า ISBN : - สารบัญ
Subscribe to ขบวนการเสรีไทย