ขบวนการแรงงาน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2567
แล ดิลกวิทยรัตน์ กล่าวถึงอุดมการณ์ของคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครองว่าอยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย และเสนอแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ไว้ว่าต้องประกอบด้วย 3 แนวทาง คือประชาธิปไตยทางการเมือง ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ และประชาธิปไตยทางสังคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2567
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงประสบการณ์ การทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย ที่ทำให้เจอกับการสบประมาท การด้อยค่า สาเหตุสำคัญมาจากสภาพสังคมไทยที่ถูกกดทับด้วยระบบชายเป็นใหญ่ นอกจากนั้นยังกล่าวถึงการต่อสู้ช่วงในปี 2559 ซึ่งเป็นกรณีของ ‘กรกนก คำตา’ หรือพี่ปั๊ป ที่ถูกจับเข้าไปในเรือนจำ อีกทั้งประเด็นเรื่องรัฐสวัสดิการ และรัฐธรรมนูญอีกด้วย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2566
สรุปสาระสำคัญภายในงาน“ เลือกตั้งคณะกรรมการประกันสังคม ปฏิรูปอะไร? อย่างไร?” เมื่ออังคารที่ 12 ธันวาคม 2566 ณ ห้องประชุมประภาศน์ อวยชัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทความ • บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
มิถุนายน
2566
ความสำเร็จของพรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยภายหลังการเลือกตั้ง มีนัยสำคัญอย่างยิ่งต่อความเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความแข็งแรงและมั่นคงของการรวมตัวภาคประชาชนในรูปแบบสหภาพแรงงาน เพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและป้องกันไม่ให้ฝั่งอนุรักษนิยมชักนำให้ประเทศย้อนหลังกลับไปยังจุดเดิม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to ขบวนการแรงงาน
8
ตุลาคม
2564
ภายหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นั้น สังคมไทยเกิดความตื่นตัวเรื่องสิทธิและเสรีภาพมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน