ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะปฏิวัติ

แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
แนวคิด-ปรัชญา
5
กรกฎาคม
2566
สื่อมวลชนสำคัญต่อการพัฒนาประชาธิปไตยตลอดมา แม้สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ก็เกิดขึ้นภายใต้การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความคิดเห็นด้านประชาธิปไตยในแง่มุมต่างๆ ที่หนังสือพิมพ์และสื่อสิ่งพิมพ์ของนักเขียนในสมัยก่อนหน้าและในขณะนั้น นำเสนอให้ชาวสยามได้รับทราบ
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงผลสืบเนื่องจากการรัฐประหาร 2534 ต่อประเด็นที่มาของตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญไทย วิกฤติทางการเมืองในคราวนั้นถือเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าความยึดโยงของตำแหน่งดังกล่าวต่อประชาชน จนนำไปสู่การสะสางปัญหาที่ยืดเยื้อซึ่งกินเวลายาวนานนับตั้งแต่ยุค 2500
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
6
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงปัญหาเชิงวัฒนธรรมที่สืบถอดกันมาในรูปแบบโครงสร้างรัฐนิยมที่ถูกเชิดชูขึ้นมาอยู่เหนือพื้นฐานสิทธิแห่งเสรีภาพ ผ่านการแทรกซึมในชีวิตประจำวันของสังคม ไม่เว้นแม้กระทั่งชีวิตของเด็กนักเรียน
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2565
1 เมษายน 2476 วันขึ้นปีใหม่ไทย แต่ ณ ห้วงเวลานั้น ได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกภายใต้ระบอบประชาธิปไตย นำโดยนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือ 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาลตัวเอง ที่เรียกกันว่า "รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา"
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2564
ในวันเพ็ญเดือนหก (พฤษภาคม) พุทธศักราช 2500 ตามปีปฏิทินจันทรคติของไทยจะเวียนมาถึง “กึ่งพุทธกาล” หรือครึ่งหนึ่งของอายุพระพุทธศาสนา (5,000 ปี) ตามความเชื่อพื้นบ้าน
บทสัมภาษณ์
16
กันยายน
2564
"ทุกครั้งที่เกิดการรัฐประหาร มักจะตามมาด้วยระบอบเผด็จการและอำนาจอันมิชอบธรรมเสมอ..."
Subscribe to คณะปฏิวัติ