ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
30
พฤษภาคม
2566
ชวนพิจารณาวุฒิสภาไทยเปรียบเทียบกับความจำเป็นในบทบาทของสภาสูงในระดับสากลว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และบทบาทของวุฒิสภาเป็นอย่างไรในโลกปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2566
ผลการเลือกเมื่อ 14 พ.ค. 2566 แสดงถึงเจตจำนงและฉันทามติของสังคมไทยอย่างเด่นชัดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่า กลับต้องพบกับอุปสรรคทางการเมืองที่ถูกวางไว้ผ่านรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทเฉพาะกาล โดยกำหนดให้ สว. จำนวน 250 คน มีสิทธิร่วมเลือกนายกรัฐมนตรีผ่านกลไกการประชุมรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2566
วิธีต่อสู้เผด็จการของนายปรีดี พนมยงค์ รูปแบบของเผด็จการแบบประชาธิปไตยและการเข้าสู่การเมืองในระบบรัฐสภาหลัง พ.ศ. 2557 ว่ามีคำนิยาม ทฤษฎี และคำอธิบายระบอบเผด็จการร่วมสมัยอย่างไร และปัจจุบันประเทศไทยมีดัชนีความเป็นประชาธิปไตยเป็นไปในทิศทางไหนในมุมมองระหว่างประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
11
เมษายน
2566
พัฒนาการและการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งรัฐสวัสดิการในสังคมไทยที่ดำเนินมาตลอดเกือบหนึ่งศตวรรษ โดยชี้ให้เห็นถึงการขับเคลื่อนที่มีหลายแนวทาง บ้างก็สันติวิธี บางครั้งก็ต้องเผชิญหน้าท้าทายตั้งคำถามต่อผู้มีอำนาจ
แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2566
ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปจะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ บทความนี้ชวนผู้อ่านสำรวจรูปแบบและวิธีการเลือกตั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับตั้งแต่แรกเริ่มสถาปนาระบอบประชาธิปไตย เรื่อยมาจนถึงการเลือกครั้งล่าสุดในปี 2562
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
จากหัวข้อการเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” นำไปสู่การร่วมหาคำตอบผ่านทัศนะของผู้ร่วมเสวนาทุกท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2565
“วงจรอุบาทว์ทางการเมืองไทย” นั้น เป็นที่รู้กันว่าหมายถึงวงจรแห่งการรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นมารอคณะรัฐประหารคณะต่อไปมาฉีกทิ้ง 
แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2565
“รัฐธรรมนูญ” มีความสำคัญในทางการเมือง ในฐานะเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ และรัฐธรรมนูญยังมีบทบาทสำคัญในการกำหนดอุดมคติที่ต้องการให้เกิดขึ้นภายในประเทศด้วยเช่นกัน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
กรกฎาคม
2565
"สายธารแห่งวรรณกรรมศรีบูรพา" ผ่านบทบาทของ 'วัฒน์ วรรลยางกูร' หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่เมื่อ 6 ตุลาคม 2519 ผู้ซึ่งยังคงถ่ายทอดอุดมการณ์ผ่านงานเขียนจนวาระสุดท้ายของชีวิต โดยวิเคราะห์ภายใต้บริบทของเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ คือ เหตุการณ์ ‘เมษา-พฤษภา 53’
Subscribe to คณะรักษาความสงบแห่งชาติ