ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ความเท่าเทียมทางเพศ

แนวคิด-ปรัชญา
11
กรกฎาคม
2566
ความเข้าใจที่แตกต่างของคนหลายรุ่นต่อรัฐสวัสดิการ” ทบทวนถึงความเข้าใจแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการของบุคคลในช่วงวัยต่างๆ เพื่อทำให้เห็นมุมมองว่าคนในแต่ละช่วงวัยมีมุมมองที่แตกต่างกันเช่นไร และด้วยเหตุอันใดบุคคลในแต่ละช่วงวัยถึงมีความเข้าใจที่แตกต่างกันเช่นนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
4
มิถุนายน
2566
ความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ คือ หัวใจสำคัญของสิทธิมนุษยชน กล่าวคือ การห้าม การกีดกัน และเลือกปฏิบัติไม่ว่าด้วยเหตุผลทางใด ล้วนแล้วแต่เป็นจุดเริ่มต้นบนพื้นฐานความเสมอภาคทางเพศ ทว่าความเหลื่อมล้ำที่ต้องพบเจอด้วยอคติทางเพศล้วนกลับยังคงดำเนินต่อไปในสังคม อีกทั้งยังคงมุ่งบั่นทอนทั้งทางตรงและทางอ้อมในเชิงปัจเจกบุคคลรวมไปถึงในเชิงโครงสร้าง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
เมษายน
2566
'แบม — กัญรภา อุทิศธรรม' กับ 'พริม — พริมรติ เภตรากาศ' พร้อมผู้ที่อยู่เบื้องหลังอย่าง 'ครูนาฏ — สินีนาฏ เกษประไพ' ทั้ง 3 ศิลปินร่วมแชร์ความคิดและพูดคุยถึงเส้นทางของ “Body Matters” A body dialogue about women ที่กว่าจะตกผลึกเป็นการแสดงอวดสู่สายตาผู้ชม สื่อความหมายว่าสิทธิเสรีภาพของมนุษย์นั้นไม่มีเพศเป็นตัวแบ่งแยก
แนวคิด-ปรัชญา
8
มีนาคม
2566
การเดินทางเพื่อความเสมอภาคของสิทธิสตรี ซึ่งพวกเธอต้องเผชิญหน้าต่อปัญหาเชิงโครงสร้างทั้งในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีเหตุปัจจัยมาจากฐานคิดความไม่เท่าเทียมทางเพศ อาทิ ความรุนแรงทางเพศ อนามัยเจริญพันธุ์ สิทธิทางการเมือง ฯลฯ
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2566
ภีรดา ชวนพิจารณาถึงฐานะทางประวัติศาสตร์ของการเลือกตั้งไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมือง โดยวิพากษ์และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันต่อพื้นที่อื่นๆ ในฟากฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นการท้าทายต่อองค์ความรู้เดิมของพัฒนาการสิทธิสตรีต่อการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
23
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ กล่าวถึงความเหลื่อมล้ำทางเพศที่เกิดขึ้นต่อสตรีและกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ พร้อมยกกรณีตัวอย่างซึ่งเป็นอุปสรรคที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการรองรับในทางกฎหมายที่ยังมีช่องว่างและไม่ทั่วถึงทุกๆ คน
19
มกราคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ "สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย" โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็น "ทำอย่างไรให้เกิดร่างรัฐธรรมนูญที่รับรองสิทธิเท่าเทียมทางเพศ" พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
17
มกราคม
2566
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงปัญหาสำคัญในสังคมได้แก่การตีตราและจำกัดบทบาทต่อสตรี โดยยกกรณีตัวอย่างผ่านเรื่องราวภายในครอบครัว บุคคลรอบข้าง รวมไปถึงบทบาทในฐานะคนรุ่นใหม่ ผู้ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองและเรียกร้องประชาธิปไตย รวมไปถึงพัฒนาการของการเคลื่อนไหวที่ขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
แนวคิด-ปรัชญา
15
มกราคม
2566
ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ กล่าวถึงการต่อสู้เพื่อกฎหมายสมรสเท่าเทียม อันเกิดจากเบื้องหลังในชีวิตและการทำงานในวงการบันเทิง รวมไปถึงยังได้ชี้ให้เห็นถึงการเปิดกว้างต่อความหลากหลายทางเพศในแวดวงบันสื่อบันเทิง ผ่านซีรีส์วาย รวมไปถึงข้อจำกัดที่ต้องประสบ คือ การปิดกั้นจากกฏหมายที่จำกัดสิทธิในการแสดงออก
แนวคิด-ปรัชญา
14
มกราคม
2566
ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล กล่าวถึงหนทางสู่ความเท่าเทียมทางเพศ ผ่านข้อเสนอเพื่อนำไปสู่จุดหมายและทลายปัญหาทางเพศที่เกิดขึ้นในสังคมไทย
Subscribe to ความเท่าเทียมทางเพศ