ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
ธันวาคม
2564
ย้อนกาลเวลาสู่ช่วงทศวรรษ 2440 กลางท้องทุ่งริมเขตแดนของอำเภออุทัย (ยุคนั้นเรียก “อำเภออุไทย”) แห่งอยุธยา มณฑลกรุงเก่า ได้ปรากฏบุรุษสามรายผู้ประพฤติตนเป็น “นักต่อสู้ไล่ช้าง” อันมีนามว่า คุณแดง นายฮ้อ และนายเสียง เรื่องราวของพวกเขาจะเป็นอย่างไร? และเกี่ยวข้องประการใดกับ นายปรีดี พนมยงค์?
โปรดติดตาม ณ บัดนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2564
เมื่อสยามเริ่มเรียนรู้วิทยาการจากโลกตะวันตกในช่วง “การปฏิรูปประเทศ” สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งหลายวิทยาการที่นำเข้ามาจากโลกตะวันตกได้รับความนิยมชมชอบจากชนชั้นนำของสยามในเวลานั้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มิถุนายน
2564
ในปัจจุบันเมื่อพูดถึงรัฐธรรมนูญ คนส่วนใหญ่คงรู้และเข้าใจได้ว่า “รัฐธรรมนูญ” หมายถึง ชื่อของกฎหมายที่กำหนดระเบียบแห่งอำนาจสูงสุดในรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจเหล่านี้ต่อกันและกัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
เมษายน
2564
เมื่ออ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรก มีความรู้สึกเหมือนกับว่าท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ให้ความสำคัญกับการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง เมื่ออ่านครั้งต่อๆไปก็เริ่มเห็นความสำคัญของส่วนของชาวบ้าน ส่วนของท้องถิ่น ในเค้าโครงการฯ คือในตอนที่ว่าด้วยสหกรณ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มกราคม
2564
เหตุใด ปรีดี พนมยงค์ จึงประกาศอย่างชัดเจนว่า นักวิชาการไม่ควรสอนต่อ ๆ กันเช่นนี้ หาคำตอบได้จากบทความชิ้นนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2564
นายปรีดียังได้ชี้แจงแสดงหลักฐานไว้ด้วยว่า เวลานั้นรัฐบาลจอมพล ป. ประกาศสงครามต่อสหรัฐฯ ผ่านช่องทางใด?
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2563
เอกราชในความใฝ่ฝันของปรีดี พนมยงค์ ก็เป็นความใฝ่ฝันร่วมกับผู้นํายุคใหม่ หลังปี พ.ศ. 2475 คนอื่น ๆ ที่ต้องการให้สยามมีเอกราชบริบูรณ์ปราศจากอํานาจสิทธิพิเศษใด ๆ บนแผ่นดินสยาม
บทความ • บทสัมภาษณ์
29
สิงหาคม
2563
เสรีไทยเสรีชน Ep.2: ความสำคัญของขบวนการเสรีไทยในมุมมองของศาสตราจารย์กิตติคุณ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
กรกฎาคม
2563
ความคิดของอาจารย์ปรีดีได้ก่อประโยชน์ให้แก่บ้านเมืองหลายด้านหลายสาขา แม้ความคิดบางอย่างไม่ได้รับการสนองตอบในขณะนั้น ก็มีอิทธิพลกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระยะต่อมา ยิ่งกว่านั้นประเทศไทยจะจารึกผลงานของท่านในฐานนักคิดนักปฏิรูปสังคม
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
13
มิถุนายน
2563
“ผมกับภรรยาสืบมาจากเชียดเดียวกัน”
ท่านปรีดี พนมยงค์ กล่าวตอนหนึ่งในการสนทนากับนายฉัตรทิพย์ นาถสุภา เมื่อเดือนเมษายน 2525 ถึงความสัมพันธ์ทางสายเลือดระหว่างท่านกับท่านผู้หญิงพูนศุข ผู้เป็นศรีภริยา
คําว่า “เชียด” นั้นเป็นคําโบราณที่ไม่ค่อยมีใครในปัจจุบันเรียกกัน หมายถึงพ่อของชวด (ทวด) ตามประวัติของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น เชียดของท่านมีบุตรอยู่หลายคน บุตรีคนหนึ่งชื่อปิ่นได้แต่งงานกับจีนก๊ก แซ่ตั้ง เป็นพ่อค้าเชื้อชาติจีน ทั้งสองมีบุตร หลายคนคนหนึ่งชื่อเกิด ได้แต่งงานกับนางคุ้ม มีบุตร 8 คน ชื่อ ฮวด ชุ้น แฟง ง้วย ใช้ ฮ้อ เสียง และบุญช่วย