ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ชนิด สายประดิษฐ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2568
สุชาติ สวัสดิ์ศรีชี้ให้เห็นบทบาทของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ในฐานะนักหนังสือพิมพ์ที่มุ่งมั่นเผยแพร่แนวคิดประชาธิปไตย มนุษยภาพ และสันติภาพ ผ่านข้อเขียนการเมืองกว่า 3 ทศวรรษ ทั้งยังกล่าวถึงผู้อยู่เบื้องหลังการจัดพิมพ์ อาทิ ชนิด สายประดิษฐ์ สุภา ศิริมานนท์ ยศ วัชรเสถียร คำสิงห์ ศรีนอก ตลอดจนกลุ่มนักวิชาการที่ร่วมฟื้นฟูบทบาทของเขาในประวัติศาสตร์
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2568
บทความสะท้อนความรักและความผูกพันอันลึกซึ้งระหว่างวาณี พนมยงค์ กับสุรพันธ์ สายประดิษฐ์ ที่แม้จะมิใช่แฝดแท้ แต่ก็ร่วมชีวิต ฝ่าฟันการลี้ภัย การเมือง และเวลาร่วมกันกว่า 36 ปี เรื่องเล่าจากความทรงจำนี้เผยให้เห็นความเหมือนและต่างของทั้งสอง โดยมีฉากหลังคือการเมืองไทยยุคเปลี่ยนผ่าน และความหมายของชีวิตคู่ที่ผูกโยงด้วยอุดมการณ์เสรีภาพและประชาธิปไตย
วันนี้ในอดีต
31
มีนาคม
2568
31 มีนาคม 2568 ในวาระ 120 ปี ชาตกาลของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ขอรำลึกประวัติ ชีวิตผ่านผลงานวรรณกรรมในนามปลายปากกา “ศรีบูรพา“ นับตั้งแต่วัยเยาว์ ความรัก การเมือง อุดมคติ และพุทธศาสนา จนถึงยุคต่อต้านเผด็จการทหาร 2490
วันนี้ในอดีต
26
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ นักคิดนักเขียนผู้เรียกร้องความเป็นธรรมในสังคม ผลงานหลายชิ้นเป็นอมตะและสอดรับกับอุดมคติเพื่อประชาชนจึงร่วมสมัยในทุกยุคโดยปี 2567 ผลงานของกุหลาบหมดอายุลิขสิทธิ์จึงนำมาตีพิมพ์ได้ในวงกว้างยิ่งขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
มกราคม
2568
ในวาระรำลึกชาตกาลของชนิด สายประดิษฐ์ ผู้ก่อตั้งสำนักพิมพ์สุภาพบุรุษ ร่วมกับกุหลาบ สายประดิษฐ์ และผลงานการแปลในนามปากกา “จูเลียต” ที่ทำงานภายใต้อุดมการณ์เพื่อสังคม
ชีวิต-ครอบครัว
31
ตุลาคม
2566
รวบรวมถึงเรื่องราว เรื่องเล่า และบรรยากาศภายใน “บ้านศรีบูรพา” ผ่านบุคคลที่เคยร่วมงานกัน สะท้อนถึงความเป็นเสมือนลมใต้ปีกที่ทำให้บ้านศรีบูรพามีชีวิตชีวาของคุณวาณีสะใภ้แห่งบ้านศรีบูรพาในฐานะศูนย์กลางของเรื่องราวอันควรรำลึกถึง
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2565
เนื่องในวาระคล้ายวันเกิด 16 กรกฎาคม ของ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ บุตรสาวคนสุดท้องของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่ได้รับมรดกทางความคิดและนิสัยรักในความรู้ทางประวัติศาสตร์คล้ายปรีดี พนมยงค์ บิดา
ชีวิต-ครอบครัว
17
กรกฎาคม
2563
ประวัติ วาณีเป็นน้องคนสุดท้องของครอบครัว เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2484 ที่บ้านป้อมเพชรนิคม หลังจากเกิดได้ไม่กี่เดือน สงครามโลกครั้งที่ 2 ก็แผ่มาถึงประเทศไทย สภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาหารือกันแล้วลงมติตั้งคุณพ่อเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ครอบครัวจึงย้ายไปพำนักที่ทำเนียบท่าช้างซึ่งทางราชการจัดให้ ในขั้นต้น วาณีเรียนที่โรงเรียนดรุโณทยานของคุณครูฉลบชลัยย์ พลางกูร และโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์
Subscribe to ชนิด สายประดิษฐ์