ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล

23
พฤศจิกายน
2566
18 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้จัดกิจกรรมในโครงการสนับสนุนการศึกษาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์เสรีไทยและเสวนาสัญจร จังหวัดแพร่ โดยจัดขึ้นที่พิพิธภัณฑ์เสรีไทย แพร่
บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2566
อ่านความคิดด้านเศรษฐกิจของ "นายปรีดี พนมยงค์" ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอัตชีวประวัติ ได้แก่ คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจ, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร และรายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า ในปี ๒๖๕๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงกลางปีนั้น เป็นช่วงเวลาที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อบันทึกประวัติศาสตร์ทางจิตวิญญาณและสังคมการเมืองของสยามประเทศ ด้วยเหตุเป็นช่วงครบรอบวาระ ๙๐ ปีแห่งเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่ง ๒ เหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นใกล้เคียงกัน
บทบาท-ผลงาน
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2565
สำหรับตอนที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้นำเสนอถึงช่วงเวลาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ได้มีการนำเสนอ "ร่างประมวลรัษฎากรฉบับแรกของสยามประเทศ" ในที่ประชุมสภานั้น 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' ได้มอบหมายให้ 'ดิเรก ชัยนาม' เป็นผู้อ่านหลักการและเหตุผลของร่างพระราชบัญญัติฯ แห่งประมวลรัษฎากร จำนวน 16 ข้อ
บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ 
แนวคิด-ปรัชญา
17
มิถุนายน
2564
เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วว่า วันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นวันที่คณะราษฎรได้ทำการอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบที่กษัตริย์อยู่เหนือกฎหมาย มาเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2564
จากการที่ได้มีโอกาสศึกษาและทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจมาบ้างนั้น ผู้เขียนมักจะตั้งคำถามกับตัวเองเสมอว่า หากเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับการนำเสนอในปี ๒๔๗๖ ได้รับการยอมรับและถูกประกาศใช้ผ่านร่างกฎหมายที่สำคัญ ๒ ฉบับ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช ๒๔๗๖ และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร พุทธศักราช ๒๔๗๖ แล้วสังคมสยามในเวลานั้น และในเวลาต่อมาจะพึงมีรูปร่างหน้าตาเปลี่ยนแปลงไปเช่นไรบ้าง  
แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2564
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ได้ให้ข้อเสนอในเรื่องการลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร โดยให้มีการจัดทำ "คำประกาศว่าด้วยคุณค่าอันเป็นรากฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตย" และ คาดหวังว่าจะเป็นการวางรากฐานที่สำคัญสำหรับอนาคตที่จะยับยั้งมิให้เกิดการรัฐประหารขึ้นได้อีกต่อไป
ชีวิต-ครอบครัว
28
ธันวาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ฟื้นความหลังผ่าน 'คำบอกเล่าถึงอดีต' ในฐานะภรรยาของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
Subscribe to ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล