ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ทิพวรรณ เจียมธีรสกุล

แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
บทบาท-ผลงาน
9
เมษายน
2566
สืบสาวความคิดทางเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" โดยพิจารณาหลักการและความเข้าใจทางเศรษฐกิจของนายปรีดี ซึ่งได้รับอิทธิพลองค์ความรู้จากพัฒนาการความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ท่ามกลางพลวัตของโลกควบคู่ไปกับสภาพสังคมสยามในขณะนั้น
บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2566
อ่านความคิดด้านเศรษฐกิจของ "นายปรีดี พนมยงค์" ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอัตชีวประวัติ ได้แก่ คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจ, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร และรายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
30
ธันวาคม
2565
คำอธิบายโดยทั่วไปถึงความแตกต่างของรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ ระหว่างฉบับที่หนึ่ง (24 มิถุนายน 2475) หรือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ. 2475 และฉบับที่สอง (10 ธันวาคม 2475) หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มักจะชี้ให้เห็นถึงการประนีประนอมระหว่างฝ่ายคณะราษฎรและฝ่ายตัวแทนของระบอบเก่า จนกระทั่งได้ข้อสรุปในเรื่องสำคัญคือ การยอมรับอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยนั้นผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่ 
ชีวิต-ครอบครัว
14
พฤศจิกายน
2564
เดือนมีนาคม พ.ศ. 2475 นายปรีดี พนมยงค์ ตัดสินใจเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจในชื่อ "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" หรือเรียกขานกันว่า "สมุดปกเหลือง"
บทบาท-ผลงาน
21
ตุลาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นผู้หนึ่งที่มองเห็นปัญหานี้ เขาใช้เวลาเพียง 1 ปี หลังการเปลี่ยนแปลง เริ่มต้นความพยายามแรกด้วยการเสนอให้มีการปฏิรูปที่ดิน
บทบาท-ผลงาน
15
มีนาคม
2564
เมื่อปรีดีเริ่มริสอน “กฎหมายรัฐธรรมนูญ” ในเมืองไทย
Subscribe to ทิพวรรณ เจียมธีรสกุล