ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

นิติรัฐ

แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2567
ภาพรวมของสถิติ นิติรัฐ ความชอบธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในบริบทสากล ยังพบว่ามีความขัดแย้งทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เหตุการณ์รัฐประหาร ปี 2557 จนกระทั่งการเคลื่อนไหวทางการเมืองของนักเรียน นิสิตนักศึกษาในปี 2563
แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2567
นิติรัฐเป็นสิ่งที่เชื่อมโยงถึงการมีอยู่ของประชาธิปไตย แต่สำหรับกรณีของประเทศไทยนิติรัฐมีความแตกต่างออกไป นั่นคือมีการนำเอาระบบแนวคิดการปกครองตามที่ชนชั้นนำต้องการให้รักษาไว้เข้ามาปรับใช้จนความเป็นนิติรัฐของไทยเปลี่ยนไป
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2565
ความพยายามในการสร้างรัฐประชาธิปไตยด้วยการสถาปนารัฐสมัยใหม่ของนายปรีดี พนมยงค์ ภายใต้บทบาทและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองครั้งสำคัญนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 และการสานต่อเจตนารมณ์แห่งการอภิวัฒน์ภายหลังจากนายปรีดีขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2565
พวงทอง ภวัครพันธุ์ สังคมไทยกับนิติรัฐที่ยังมาไม่ถึง PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2563
อ่านข้อเขียนของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ที่เรียบเรียงจากการปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ ประจำปี 2559 หัวข้อ "สังคมที่เป็นประชาธิปไตย: คุณค่า ความหวัง"
Subscribe to นิติรัฐ